Page 10 - รวมเล่มคัมภีร์อัคคีภัย ครั้งที่ 3
P. 10

    คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
  ในกรณีท่ีเกิดเหตุเพลิงไหม้ในโรงพยาบาล สมาคมการดับเพลิงและช่วยชีวิต FARA ก็ได้ นาํา หลกั การผชู้ ว่ ยเหลอื ฉกุ เฉนิ ABPs มาใช้ เชน่ เดียวกัน เพียงแต่เปลี่ยนคําาว่า Passengers เป็นPersonsตัวอย่างเช่นหอ้งICUของโรง พยาบาล ญาติผู้ป่วยท่ีมารอเย่ียมผู้ป่วยใน ห้อง ICU เจ้าหน้าท่ีหอผู้ป่วย ICU จะต้อง พิจารณาเลือกญาติของผู้ป่ วยท่ีเหมาะสม ตามคุณสมบัติดังนี้
1. ต้องดูว่ามรี ่างกายสมบูรณ์แข็งแรง 2.มจี ิตใจพร้อมที่จะช่วย
3. ส่อื สารกันได้อย่างชัดเจน
4.ไมม่ ผี ตู้ ิดตามที่มาด้วย อันอาจจะทําาให้
พะวักพะวง
5.เป็นญาติของผปู้ ่วยทมี่ โี อกาสอยใู่ น ICU
นานกว่า 7 วัน หรือนานตามสมควร ข้ันตอนปฏิบัติ
สําหรับผู้ช่วยเหลือฉุกเฉิน ABPs : Able Bodied Persons ในโรงพยบล
พยาบาลเจ้าของไข้จะแนะนําาให้รู้จัก สถานที่พอสมควร อาทิ ทางหนีไฟ, จุดลง รอกหนีไฟ,ตําาแหน่งที่ต้ังเตียงคนไข้การ ใช้อุปกรณ์เคล่ือนย้ายผู้ป่ วย, เส้นทางไปจุด ปลอดภัยผปู้ ่วยวิกฤต และจุดรวมพล
แนะนําาวิธกีารใช้เคร่อืงดับเพลิง•สาย ฉีดน้ําาดับเพลิง และสุดท้ายให้ผู้ช่วยเหลือ ฉุกเฉิน ABPs นําาพยาบาลหรือเจ้าหน้าท่ี ของ Ward ท่ีไม่สามารถอพยพได้ด้วยตัวเอง ออกไปสู่ที่ปลอดภัย
หลักการ “3 Be 1” ท่ีจะนาํา “ไทยมุง” (By Stander)มาเป็นผชู้่วยเหลือฉุกเฉินABPsน้ี ควรที่จะบรรจุไว้เป็ นแนวทางที่สําาคัญของ หนว่ยช่วยเหลือต่างๆอย่างเป็นระบบเพราะ
ปัญหาสําาคัญเม่ือเกิดภาวะฉุกเฉินข้ึนก็คือ การขาดกําาลังคนที่จะมาร่วมกันจัดการ คลี่คลายภาวะฉุกเฉินน้ันเสมอ รายละเอียด ของการกําาหนดคุณสมบัติของ ABPs จึงต้อง ทําาการศึกษา และออกแบบให้เหมาะสมใน แต่ละงานในแต่ละเหตุการณ์โดยผเู้ชี่ยวชาญ อย่างแท้จริง
สมาคมการดับเพลิงและชว่ยชีวิตFARA ขออาสาเป็ นท่ีปรึกษาให้กับท่านท่ีสนใจ ไม่ว่าจะเป็ นโรงพยาบาล สถานประกอบ กิจการ หรือหน่วยงานจิตอาสาต่างๆ โดย ติดต่อขอรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่หมายเลข 081-639-3529
เรามารว่ มกันทําาให้ “ไทยมุง” ไม่ใช่ “เรอื่งยุง่”แต่เป็น“เรอื่งเยยี่ม”กันต่อ ไปนะครบั...
ส่วนตัวผู้เขียน
นยคณทัต จันทร์ศิริ
ประธาน APFA & FARA Group of ASIA E-Mail : fara.kanathat@gmail.com
     ISSUE4VOLUME29 20 FEBUARY-APRIL2023
               















































































   8   9   10   11   12