Page 14 - TEMCA MAG. ฉบับที่ 3 ปีที่ 28
P. 14
ส กู๊ ป พิ เ ศ ษ
Sungrow บริษัทจากประเทศจีนได้พัฒนา โครงสร้างเซลล์แสงอาทิตย์แบบลอยนํา้าดัง แสดงตามภาพที่ 3
ระบายความรอ้ นของผวิ นา้ํา หากใชโ้ ครงสรา้ งยดึ PV Module เป็นอลูมิเนียม ก็จะส่งผลให้โครง สร้างยึด PV Module มีอุณหภูมิที่เย็นลงไปด้วย
ตดิ ตง้ั แบบลอยนา้ั จะมอี ณุ หภมู ขิ อง PV Module ท่ีต่ําากว่าแบบติดตั้งบนพ้ืนดิน ที่สําาคัญกว่าน้ัน ผลกระทบนี้ถือเป็นปัจจัยหลักในการเพิ่ม Capacity Factor ของระบบพลงั งานแสงอาทติ ย์ ติดตั้งแบบลอยน้ําา เมื่ออ้างอิงถึงกราฟ I-V (I-V Curve) ที่ขึ้นกับอุณหภูมิ ดังแสดงตามภาพที่ 4
อ้างอิงจากการศึกษาโดย Young-Kwan Choi (2014) ชี้ให้เห็นว่าระบบพลังงานแสง อาทิตย์ติดตั้งแบบลอยนํา้ามี Capacity Factor สูงกว่า 7.6 -13.5% เมื่อเทียบกับระบบพลังงาน แสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดิน [2] รวมถึงผล การจําาลองโดย McKay Abe (2013) แสดงให้ เหน็ วา่ ระบบพลงั งานแสงอาทติ ยต์ ดิ ตง้ั แบบลอย นํา้าจะเพิ่ม Energy output และประสิทธิภาพ สูงกว่า 8 – 10%
โดยในประเทศไทย เริ่มมีการลงทุนโรงไฟ ฟ้าพลังานแสงอาทิตย์ติดตั้งแบบลอยนํา้าเพิ่ม มากขึ้น ซึ่งจะเห็นได้ชัดจากโครงการโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยนํา้าร่วมกับโรง ไฟฟ้าพลังน้ําา (Hydro-Floating Solar Hybrid) หรือ โรงไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ลอยนํา้าไฮบริด โดย
ภาพที่ 3 ส่วนประกอบโครงสร้างเซลล์แสงอาทิตย์แบบลอยนํ้า
ระบบพลังงานแสงอาทิตย์ติดตั้งแบบลอย นํา้าสามารถติดต้ังได้กับแหล่งนํา้าจืดต่างๆ เช่น ทะเลสาบ บ่อน้ําา เข่ือน อ่างเก็บนํา้า ฟาร์มเลี้ยง ปลา คลอง ฯลฯ ซ่ึงปัจจุบัน ก็มีผู้ผลิตโครงสร้าง เซลล์แสงอาทิตย์แบบลอยน้ําาที่สามารถติดตั้ง ได้ในทะเล ดังนั้น เทคโนโลยีนี้จึงสามารถรวม เข้ากับสิ่งกระบวนการผลิตอื่นๆ ได้ เช่น ไฟฟ้า พลังนํา้า การชลประทาน พลังงานความร้อน การบําาบัดนํา้าเสีย เป็นต้น
PV Module โดยทั่วไป ในปัจจุบันจะมี ประสิทธิภาพแผง (Module Efficiency) อยู่ ระหว่าง 15–22% ขึ้นอยู่กับประเภทของเซลล์ แสงอาทติ ยแ์ ละสภาพภมู อิ ากาศ รงั สดี วงอาทติ ย์ จะถกู แปลงเปน็ ความรอ้ น ซง่ึ สง่ ผลทาํา ใหอ้ ณุ หภมู ิ ของ PV Module เพิ่มข้ึนอย่างมีนัยสําาคัญ พลังงานที่ PV Module ผลิตได้จะแตกต่างกัน ไปตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ เนื่องจาก ModuleEfficiencyนน้ั ขน้ึ อยกู่ บั อณุ หภมู ิดงั นน้ั หากเราติดตั้งระบบพลังงานแสงอาทิตย์ติดตั้ง แบบลอยนํา้าจะได้รับประโยชน์จากอุณหภูมิ แวดล้อมที่ลดลงอย่างมีนัยสําาคัญตามผลการ
ซึ่งจะทําาให้ผลรวมของอุณหภูมิโดยรวมของ PV Module ลดลง
ซง่ึ เปน็ ทแ่ี นช่ ดั วา่ ระบบพลงั งานแสงอาทติ ย์
ภาพที่ 4 กราฟ I-V ที่ขึ้นกับอุณหภูมิ (ที่มา: PVsyst)
ISSUE3•VOLUME28 14 NOV.2021-JAN.2022