Page 15 - TEMCA MAG. ฉบับที่ 3 ปีที่ 28
P. 15

                                     ภาพที่ 5 กระบวนการผลิตไฟฟ้าของโซลาร์เซลล์ลอยนํ้าไฮบริด (ที่มา: www.egat.co.th)
ISSUE3•VOLUME28 NOV.2021-JAN.2022 15
ส กู๊ ป พิ เ ศ ษ
    การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ณ เขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ซ่ึงเป็นโครง การนําาร่อง มีกําาลังผลิตติดต้ัง 45 เมกะวัตต์ และ ยังนับเป็นโซลาร์เซลล์ลอยนํา้าไฮบริดพลังนํา้าท่ี ใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งใช้แผงโซลาร์เซลล์มากถึง 144,420 แผ่น ติดตั้งอยู่บนพื้นที่ผิวน้ําาประมาณ 450 ไร่ หรือเทียบเท่าสนามฟุตบอลประมาณ 70 สนาม ซง่ึ มแี ผนการเดนิ เครอ่ื งผลติ ไฟฟา้ 18% ต่อปี จะได้เท่ากับเดินเครื่อง 1,577 ช่ัวโมงต่อปี ผลิตไฟฟ้าร่วมกับโรงไฟฟ้าพลังนํา้าที่มีกําาลัง ผลิต 36 เมกะวัตต์ สามารถเดินเครื่องเต็มกําาลัง ได้ 28% ของ 8,760 ช่ัวโมง (ปี) เท่ากับเดิน เครื่อง 2,453 ช่ัวโมงต่อปี เมื่อรวมกันแล้วจะ สามารถเดินเคร่ืองผลิตไฟฟ้าได้ 4,030 ชั่วโมง ต่อปี จะเท่ากับประมาณ 43% ในเวลากลางวัน เมื่อมีแดด และเมื่อไม่มีแดดหรือในเวลากลาง คืนก็ใช้พลังงานนํา้าในการผลิตไฟฟ้า ดังแสดง ตามภาพที่ 5
ด้วยความเป็นมาในการพัฒนาเทคโนโลยี พลังงานแสงอาทิตย์ติดตั้งแบบลอยนํา้ามีความ ก้าวหน้าอย่างมาก ความสนับสนุนจากภาครัฐ ในการสง่ เสรมิ พลงั งานหมนุ เวยี นสรา้ งแรงจงู ใจ
ให้นักลงทุน รวมถึงภาคประชาชนในการลงทุน ประกอบกับการลดลงของต้นทุนของระบบ Solar System และการปรับปรุงประสิทธิภาพ ของ PV Module ท่ีสูงข้ึนเป็น 3 ปัจจัยหลักใน การยกระดับเทคโนโลยี Solar Floating เน่ือง จากทรัพยากรที่ดินที่มีจําานวนจําากัดมากขึ้น เรื่อยๆ Solar Floating จึงได้พิสูจน์แล้วว่าเป็น วิธีแก้ปัญหาที่สมเหตุสมผลในอนาคตเพื่อบรรลุ เป้าหมายในการติดตั้ง Solar System และการ
ลด GHG
การลงทุนในภาคประชาชนท่ัวไป
ตามที่จะเห็นได้ท่ัวไปจากอุตสาหกรรมการ ประมง หรือการทําาแพลอยนํา้าตามบ้านเรือน ท่ี มีการใช้ถังน้ําามันหรือถังจารบีขนาด 200 ลิตร นําามาผูกติดกันและทําาฐานรับเพื่อใช้สําาหรับ เดินหรือทําากิจกรรมอื่นๆ บนน้ําา ดังแสดงตาม ภาพท่ี 6
     ภาพที่ 6 ตัวอย่างแพลอยนํ้าจากถังนํ้ามัน 200 ลิตร
                   
























































































   13   14   15   16   17