Page 16 - TEMCA MAG. ฉบับที่ 3 ปีที่ 28
P. 16
ส กู๊ ป พิ เ ศ ษ
จากตวั อยา่ งการนาํา ถงั นา้ํา มนั ขนาด 200 ลติ ร มาใช้สําาหรับประกอบแพลอยนํา้า ก็ได้มีการ ประยุกต์และพัฒนามาใช้กับระบบพลังงานแสง อาทิตย์มากข้ึน ในรูปแบบของการติดต้ังกังหัน น้ําาเติมอากาศ ที่ใช้พลังงานจาก PV Module ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับมอเตอร์กังหันนํา้า และในปัจจุบันได้มีการพัฒนามาเป็นระบบ Solar Floating ขนาดเล็ก ท้ัง On-Grid และ Off-Grid ตามบ้านเรือน วัด หรือแม้กระทั่งตาม โรงเรียน ที่มีแหล่งนํา้าและนําามาใช้ประโยชน์ใน การติดต้ังระบบ Solar Floating
เนื่องจากมีน้ําาหนักอื่นๆ บรรทุกเพิ่มใน อนาคต หรือน้ําาหนักของมนุษย์ขณะข้ึนไป ตรวจสอบและบําารุงรักษาระบบ
• การยึดโยง: ต้องมีการออกแบบการยึด โยงโครงสร้าง Solar Floating ให้คง ตําาแหน่งที่เหมาะสมท่ี PV Module จะ สามารถรับแสงและผลิตพลังงานไฟฟ้า ให้ได้ประสิทธิภาพดีที่สุด
• ระดับนํ้า: ต้องพิจารณาถึงระดับนํา้าของ แหล่งนํา้าที่ใช้สําาหรับติดต้ังว่าระดับน้ําา มีความเปล่ียนแปลงอย่างไร เพ่ือใช้
อื่นๆ ทดแทน
• การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ท่มี ีคุณภาพและ มีมาตรฐานงานติดต้ัง Solar Floating เพื่อลดความเสี่ยงต่ออันตรายท่ีอาจจะ เกดิ จากระบบได้ ไมว่ า่ จะเปน็ PV Module หรือสายไฟฟ้าต่างๆ
•การCommissioningระบบที่ดีในทุกจุด ของงานตดิ ตง้ั Solar Floating จะลดความ เสี่ยงของอันตรายทางด้านไฟฟ้าลงได้ อีกทั้งยังจะช่วยให้ระบบ Solar Floating มีประสิทธิภาพท่ีดีข้ึนอีกด้วย
อ้างอิง
• https://acsst.wordpress.com/
• https://www.egat.co.th
• https://academic.oup.com/ijlct/article/
16/3/732/6106133
• https://www.researchgate.net/
ภาพที่ 7 งานติดตั้ง Solar Floating แบบ Smart Hybrid ขนาด 5 กิโลวัตต์ ณ วัดป่าศรีแสง ธรรม จ.อุบลราชธานี
โดยจากตัวอย่างนี้มีข้อสังเกตในการ ออกแบบงานติดตั้งระบบ Solar Floating ดังนี้
• แรงลอยตัวของวัตถุ: กําาลังติดต้ังขนาด 5 กิโลวัตต์ มีน้ําาหนักรวมประมาณ 1,200 กิโลกรัม ดังน้ัน น้ําา 1 ลิตร จะหนัก 1 กิโลกรัม ถ้าต้องการแรงลอยตัวท่ี 1,200 กิโลกรัม คิดเป็น 1,200 ลิตร (จะได้จําานวน ถังนํา้ามัน 200 ลิตร จําานวน 6 ถัง) แต่ ควรเผื่อค่าความปลอดภัยไว้ที่ 2.5 เท่า
สําาหรับพิจารณาเร่ืองความยาวของสาย ไฟฟ้า รวมถึงการยึดโยงให้เหมาะสมกับ สภาพบ่อนํา้านั้น ๆ
• พ้ืนท่ีติดตั้งระบบ Solar Floating เม่ือ เทียบกับพ้ืนที่ผิวนํา้าต้องไม่เกินกว่า 60% สําาหรับบ่อเลี้ยงปลา หากมีความต้องการ ติดตั้งเต็มพื้นท่ีของบ่อน้ําา เจ้าของระบบ อาจจะพิจารณาติดตั้งกังหันดีอากาศ หรือเคร่ืองเพิ่มปริมาณออกซิเจนในน้ําาให้ เหมาะสมกับการเลี้ยงปลาหรือสัตว์นํา้า
ISSUE3•VOLUME28 16 NOV.2021-JAN.2022
ส่วนตัวผู้เขียน
นายอรรถพงศ์ เจริญพล
ผู้จัดการโครงการ บริษัท โซลาร์คอน จําากัด
การศึกษา: ปริญญาตรี - วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประสบการณ์: 11 ปี ด้านพลังงานทดแทน
ติดต่อ: auttapongj@solarcon.co.th