Page 18 - TEMCA MAG. ฉบับที่ 3 ปีที่ 28
P. 18

                                    2. ICS : Incident Command System ระบบการบัญชาการเหตุการณ์
3. Sendai Framework เคร่ืองมือเพื่อลดความเสี่ยงภัย (ลด 4 เพิ่ม 3)
4. C B D R M : Community Base Disaster Risk Management
ป้องกันภัยในชุมชนด้วยตนเอง
5. องค์ประกอบหลักของทีมฉุกเฉิน ERT สําาหรับจัดการภัยทันทีใน
วินาทีแรก (First Responder) ตามหลักเกณท์ USAR / INSARAG ซ่ึงแบ่งออกเป็น 5 ทีม โดยมีหลักการจําา คือ คําาย่อ C A R Me Lo (คาร์มีโล)
1. ERT : Emergency Response Team ทีมตอบโต้ เหตุฉุกเฉิน หรือ “ทีมฉุกเฉิน ERT”
ERT คือ บุคลากรในหน่วยงาน
น้ันๆ (ลูกจ้าง) ท่ีได้รับการฝึกอบรมให้ จัดการเหตุฉุกเฉินต่างๆ ตั้งแต่วินาที
แรก จนถึง 20 ถึง 30 นาที ก่อนที่ หน่วยงานมืออาชีพจะมาถึง โดยใช้
ระบบการบญั ชาการในเหตกุ ารณ์ICS:
Incident Command System ซึ่ง ครอบคลุมความรู้ ด้านการดับไฟ การกู้ภัย และการกู้ชีพ  ขยายความ (Explanation)
ตามพระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ ม ในการทําางาน พ.ศ. 2554 โดยมีการออกกฏกระทรวง หมวดที่ 8 ข้อที่ 27 และ 28 ความว่า
• การป้องกันและระงับอัคคีภัย (การบริหาร และ บัญชาการ Command)
• การใชอ้ ปุ กรณต์ า่ งๆ ในการดบั เพลงิ (การดบั ไฟ)
• การปฐมพยาบาล(กู้ชีพ Medical)
• การช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน (การค้นหา และ
กู้ภัย Search & Rescue)
• การสนับสนุนกําาลังบําารุง (Logistic)
ข้ออ้างอิง : (Reference) มาตรฐาน ASIA-SHE โดย สมาพันธ์การ ชว่ ยชวี ติ ดบั เพลงิ และกภู้ ยั แหง่ เอเซยี APFA และ FARA www.firefara.org
2. ICS : incident Command System ระบบการบัญชาการเหตุการณ์
ICS คอื เครอ่ื งมอื ทเ่ี ปน็ ระบบ ทใ่ี ชใ้ นการสง่ั การ (Command), ควบคมุ (Control), ประสานงาน (Coordination) และสอ่ื สาร (Communication ใน เหตกุ ารณฉ์ กุ เฉนิ และไมฉ่ กุ เฉนิ เพอ่ื กาํา จดั สาเหตุ คมุ เขตลกุ ลาม ลดความ สูญเสีย โดยใช้โครงสร้างหลัก 4 P-SHE : Policy (นโยบาย), Personnel (บคุ ลากร), Place & equipment (อาคารสถานท่ี และอปุ กรณ)์ , Practice & Knowledge (การฝึกอบรมและองค์ความรู้)
ผู้ปฏิบัติงาน คือ “ทีมฉุกเฉิน ERT” : Emergency Response Team ซึ่งต้องจัดให้มีในทุกๆ พื้นที่ 4C + 4P-SHE (ส่ีซี และส่ีพีชี)
 ขยายความ (Explanation) 4C (สี่ซี)
C1 : Command การสั่งการ
หมายถึง การจัดการของผู้บริหาร หรือผู้มีอําานาจในการสั่งการตาม หน้าที่ความรับผิดชอบ ชี้แนะบุคคล การนิเทศงาน และการติดตามผล เพื่อให้งานดําาเนินไปตามแผน หรือเป้าหมายท่ีกําาหนดไว้
การส่ังการ เป็นกระบวนการที่มีการติดต่อสื่อสารระหว่าง ผู้บังคับ บัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อแจ้งให้ทราบว่า ให้ใครทําา (who), ทําา อะไร (what), ทําาที่ไหน (where), ทําาเม่ือไหร่ (when) และทําาอย่างไร (how)
การสั่งการ เป็นภาระหน้าท่ีของผู้นําา การใช้ความสามารถในการส่ัง งาน การตัดสินใจ การจูงใจ และการติดต่อส่ือสารระหว่างผู้บังคับบัญชา กับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ปฏิบัติงานอย่างดีท่ีสุด จนกระทั่งองค์กรสามารถ บรรลุตามวัตถุประสงค์ได้
ข้อบกพร่อง ที่อาจเกิดได้จากการสั่งการด้วยวาจา ได้แก่
1. พูดไม่ชัดเจน ท้ังคําาส่ัง คําาถามและคําาตอบ
2. ใช้คําาสั่งในภาษาที่ผู้รับคําาสั่งไม่คุ้นเคย
3. คาดการณ์ผิด คิดว่าผู้รับคําาสั่งเข้าใจดีแล้ว ไม่ได้ทบทวนใหม่
หรือย้ําาคําาส่ัง
คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
    ขอ้27
ขอ้28
ใหน้ ายจา้ ง(ผบู้ งั คบั บญั ชา)จดั ใหล้ กู จา้ งไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 40 ของจาํา นวนลกู จา้ งในแตล่ ะหนว่ ยงานของสถานประกอบ กิจการรับการฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น โดยให้ผู้ที่ได้รับ ใบอนุญาตจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นผู้ ดําาเนินการฝึกอบรม
ใหน้ ายจา้ ง (ผบู้ งั คบั บญั ชา) จดั ใหม้ กี ารดาํา เนนิ การเกย่ี วกบั ความปลอดภัยจากอัคคีภัย ดังต่อไปน้ี
(28.1) สถานประกอบกิจการท่ีมีความเส่ียงต่อการเกิด
อัคคีภัยอย่างร้ายแรงหรืออย่างปานกลางต้องจัด ใหม้ กี ารบรหิ ารงานโดยกลมุ่ ปฏบิ ตั งิ าน (ทมี ฉกุ เฉนิ ERT) เพอ่ื ปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั และมผี ทู้ าํา หนา้ ท่ี อําานวยการระงับอัคคีภัยทั้งระบบโดยเฉพาะเมื่อ เกิดเพลิงไหม้ประจําาสถานประกอบกิจการตลอด เวลาที่มีการประกอบกิจการ
(28.2)ต้องจัดให้ผ้ทู่มีีหน้าท่เีก่ยีวกับการป้องกันและระงับ อัคคีภัยรับการฝึกอบรมเกี่ยวกับ
ISSUE3•VOLUME28 18 NOV.2021-JAN.2022
               
























































   16   17   18   19   20