Page 20 - TEMCA MAG. ฉบับที่ 3 ปีที่ 28
P. 20
ขยายความ (Explanation) 4P-SHE (ส่ีพีชี)
P1 : Policy (นโยบาย)
คือ แนวทางหรือวิธีการปฏิบัติขององค์กร หรือกลุ่มบุคคล เลือกแล้ว
จากทางเลือกหลายๆ ทาง เพ่ือใช้เป็นแนวทางปฏิบัติอย่างปกติของ องค์กร โดยสะท้อนถึงความสัมฤทธิ์ผลอย่างดีท่ีสุดต่อองค์กร ซึ่งนโยบาย ในเรื่องของความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน และความต่อเน่ืองในการ ดําาเนินกิจการ (BCM) Business continuity management จึงมีความ สําาคัญที่จะต้องถูกกําาหนดไว้เป็นนโยบายอย่างชัดเจน
P2 : Personnel (บุคลากร)
คือ เจ้าหน้าที่ พนักงาน คณะคนงาน ที่ปฏิบัติหน้าท่ีตามนโยบายที่ ได้รับมอบหมาย
P3 : Place and equipment (อาคารสถานที่และอุปกรณ์)
คือ บริเวณอันเป็นท่ีประกอบกิจการของบุคคลน้ันๆ ไม่ว่าจะพ้ืนท่ี ราบ หรือมีอาคารประกอบทุกรูปแบบ รวมหมายถึง สิ่งประกอบ เช่น เฟอร์นิเจอร์ หรือเครื่องมือ เคร่ืองจักร อุปกรณ์ที่ร่วมใช้ในการดําาเนิน กิจการหรือกิจกรรม ท้ังปกติและเฉพาะกิจ
P4 : Practice And Knowledge (การฝึกอบรมและองค์ความรู้)
เพื่อให้บุคลากรของหน่วยงาน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ องค์กรจึงมีความจําาเป็นที่จะต้องอบรม ให้ความรู้ สร้าง ทัศนคติ และฝึกซ้อม พร้อมเสริมความรู้ท่ีเป็นปัจจุบันให้ด้วยความเอาใจ ใส่อย่างสมํา่าเสมอ เพ่ือให้ “คน” ของหน่วยงานมีศักยภาพอย่างยั่งยืน (ใช้ หลักคุณภาพดีมี 5 ค.)
แนวคิดหลัก Key concepts : Chain of Command 5 Keys ICS : กุญแจสําาคัญ 5 ข้อ ในระบบ ICS
1. สั่งการให้เป็นหน่ึง
2. ส่ือถึงง่ายชัดเจน
3. มุ่งเน้นตรงเป้าหมาย
4. ย่อขยายได้ครอบคลุม
5. หนึ่งกลุ่มไม่เกิน 8
1. ส่ังการให้เป็นหน่ึง Unity of Command
การสง่ั การทม่ี เี อกภาพ ทกุ ๆ คนทร่ี ว่ มปฏบิ ตั งิ าน ตอ้ งมสี ายการบงั คบั
บัญชาท่ีชัดเจน เพื่อรับคําาส่ังและรายงานย้อนกลับสู่หัวหน้าคนเดียวเพ่ิอ ป้องกันการสั่งการท่ีซํา้าซ้อน ข้ามภารกิจหรือขัดแย้งกัน และนี่คือแนวคิด พน้ื ฐานของโครงสรา้ งหว่ งโซ่ ICS (อยา่ สบั สนระหวา่ ง Unity of Command กับ Unified Command ซ่ึงแปลว่า การบัญชาการร่วม)
2. สื่อถึงง่ายชัดเจน Common Terminology
การใช้ศัพท์ภาษาในการส่ือสารท่ีง่ายต่อทุกคน หน่วยงานที่เข้าร่วม ปฏิบัติการในเหตุการณ์ฉุกเฉิน มีหลากหลายท้ังภายในองค์กรและภาย นอก ซ่ึงจะต้องสื่อสารกันให้มีความเข้าใจชัดเจน กระชับ รับรู้ รวดเร็ว ICS จึงต้องมีข้อตกลงในการใช้คําาศัพท์ภาษาต่างๆ ให้เกิดความเข้าใจ ตรงกันมากที่สุด รวมท้ังสื่อสัญลักษณ์อื่นๆ ด้วย เช่น ช่ือเรียกตําาแหน่ง ชื่อเรียกทีม สีเส้ือ หรือปลอกแขน ธง พื้นที่ต่างๆ ตามแผน ฯลฯ
การใช้ ICS ในประเทศไทย จึงควรสอนให้ส่ือสารกันเป็นภาษาไทย ที่คนส่วนใหญ่เข้าใจมากที่สุด เพราะปัญหาท่ีเกิดข้ึนแล้วคือ นําา ICS มา จากท่ีเดียวกัน (USA) แต่ใช้ไม่เหมือนกัน ใช้ภาษาที่คนส่วนใหญ่ฟังไม่ เข้าใจ
3. มุ่งเน้นตรงเป้าหมาย Management by Objection
การจัดการท่ีมุ่งสู่วัตถุประสงค์ ทุกๆ เหตุการณ์ฉุกเฉินต้องบริหารจัด การโดยเล็งไปที่วัตถุประสงค์ เลือกจัดการตามลําาดับความสําาคัญ มุ่งเน้น สัมฤทธิ์ผล และต้องมีกรอบเวลา โดยเลือกกลยุทธ์ที่เหมาะสม และต้อง ส่ือสารให้ทุกคนใน ICS รับรู้ร่วมกัน
4. ย่อขยายได้ครอบคลุม Flexible and Modular Organization
มีการบัญชาการที่ยืดหยุ่นอย่างครอบคลุม ในโครงสร้างการบัญชา การในเหตุฉุกเฉินขององค์กร ต้องสามารถรองรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ ต้ังแต่ขนาดเล็กจนขยายตัวลุกลามเป็นขนาดใหญ่ มีภยันตรายในทุกรูป แบบ โดยที่บุคลากรตามแผนที่กําาหนดไว้ สามารถปฎิบัติการได้อย่าง ครอบคลุมตามมาตรฐาน โดยมีหลักว่า
“ใครถึงก่อน จัดการก่อน” (ไม่ต้องรอ) Incident Command is established by the first arriving unit และคําานึงถึงแนวทางปฏิบัติ 3 ข้อ
1. กําาจัดสาเหตุ (ถ้าทําาได้ทันทีโดยไม่เสี่ยง) 2. คุมเขตคุกคาม
3. ลดการสูญเสีย
และเมอ่ื เหตกุ ารณไ์ ดข้ ยายทง้ั ระยะเวลา ขนาดของความรนุ แรง และ ภาวะอันตราย ผู้รับผิดชอบ หรือ ผูบัญชาการ ก็จะต้องมีมากขึ้น มีระดับ สูงข้ึนตามไปด้วย เช่น จากในหน่วยงานไปสู่ตําาบล ขยายไปเป็นอําาเภอ เป็นจังหวัด จนถึงสหประชาชาติ
*โดยทั่วไป ICS ที่เต็มรูปแบบตามแผนและบุคลากรจะมีให้เห็นใน เหตุการณ์ที่ใหญ่ และซับซ้อนจริงๆเท่านั้น
*และเม่ือเหตุการณ์สงบลง การบัญชาการจะส่งต่อย้อนกลับจาก ใหญ่ลดลงไปจนเหลือหน่วยเล็กท่ีสุดท่ีจุดรับผิดชอบแรกเร่ิม
คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
ISSUE3•VOLUME28 20 NOV.2021-JAN.2022