Page 16 - Local fund Ubon
P. 16
10
ตัวอย่ำงโครงกำร 1
แบบเสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรมกองทุนหลักประกันสุขภำพองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล.......................
เรื่อง โครงกำรนม 90 วัน 90 กล่องส ำหรับหญิงตั้งครรภ์ ปี 2563 ต ำบล …………………………………………
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนต าบล...............................................
ด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล..................................อ าเภอ........................ มีความประสงค์
จัดท าโครงการนม 90 วัน 90 กล่อง ส าหรับหญิงตั้งครรภ์ ปี 2563 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล...................................................... จ านวน ...............บาท
(.............................) โดยมีรายละเอียดโครงการดังนี้
ส่วนที่ 1 รำยละเอียดโครงกำรแบบเสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม (ส ำหรับผู้เสนอแผนงำน/โครงกำร/
กิจกรรม)
หลักกำรและเหตุผล
1,000 วันแรกนับตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิและทารกยังอยู่ในครรภ์มารดา จนถึงอายุ 2 ปี เป็นช่วงที่
โครงสร้างสมองมีการพัฒนาสูงสุด ทั้งการสร้างเซลล์สมองและการเชื่อมโยงระหว่างเซลล์สมอง เกิดเป็น
โครงข่ายเส้นประสาทนับล้านโครงข่าย ท าให้เพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารระหว่างเซลล์สมอง เด็กจะมี
ความสามารถในการเรียนรู้จดจ า รวมถึงเป็นช่วงที่การเจริญเติบโตของร่างกายเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจาก
การศึกษาวิจัยในต่างประเทศ พบว่า โภชนาการในช่วง 1,000 วันแรกของชีวิตมีความส าคัญมากถึง 80%
ต่อการก าหนดภาวะสุขภาพไปตลอดชีวิต ขณะที่ปัจจัยด้านพันธุกรรมที่ได้รับจากพ่อแม่มีส่วนก าหนดเพียง
20% เท่านั้น หากในช่วง 1,000 วัน ได้รับอาหารน้อยไปส่งผลให้ทารกในครรภ์และเด็ก 0-2 ปีเจริญเติบโต
ไม่ดี น้ าหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม มีภาวะเตี้ย ทางตรงกันข้าม หากได้รับอาหารมากเกินไป ทารก
จะมีน้ าหนักมากกว่า 4,000 กรัม จะเติบโตเป็นเด็กอ้วน ผู้ใหญ่อ้วน และเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ
เรื้อรังเช่นกันเพื่อก้าวไปสู่ประเทศที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนา
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและบรรลุตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development
Goals ; SDGs ) จึงต้องสร้างคนไทย 4.0 มนุษย์ที่สมบูรณ์แบบในศตวรรษที่ 21 ในช่วง 1,000 วันแรกของ
ชีวิต
จากสถานการณ์การด าเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ของอ าเภอ....................................................
พบว่า เด็กแรกเกิดน้ าหนักต่ ากว่าเกณฑ์ ปี 2560 จ านวน.........คน คิดเป็นร้อยละ ปี 2561 จ านวน......คน
คิดเป็นร้อยละ ............. ปี 2562 จ านวน .......คน คิดเป็นร้อยละ ..................หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาด้าน
โภชนาการ ปี 2560 จ านวน.........คน คิดเป็นร้อยละ ปี 2561 จ านวน......คน คิดเป็นร้อยละ ............. ปี
2562 จ านวน .......คน คิดเป็นร้อยละ ..................
ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี
คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563