Page 28 - Ebookภูมินามถิ่นบ้านแพง
P. 28
2. ภูมินามที่ตั้งชื่อตามลักษณะภูมิประเทศและตงชื่อตามสัตว์ที่มีความเกี่ยวข้อง
ั้
ในตำบลนางัว มีหมู่บ้านที่ตั้งชื่อตามลักษณะภูมิประเทศและตั้งชื่อตามสัตว์
ที่มีความเกี่ยวข้อง 2 หมู่บาน ได้แก่ บ้านนางัว และบ้านนางัวทุ่ง
้
2.1 บ้านนางัว
เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2380
ชาวบ้านได้อพยพมาจาก บ้านบึง
ดงบ้านเก่า ในจังหวัดมหาสารคาม
และอพยพมาจากประเทศลาว
เป็นจำนวน 15 หลังคาเรือน ผู้นำ
ชุมชนเห็นว่าบริเวณนี้มีทำเลทด ี
ี่
เหมาะแก่การตั้งหลักแหล่งที่อยู่อาศัย
เพราะพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มมีลำห้วย
ผ่านหลายสาย
พื้นที่ติดกับภูเขาลังกาทำให้เกิดความอุดมสมบูรณเต็มไปทั่วทั้งหมู่บ้าน อีกทั้งมีทุ่งหญ้ากว้างใหญ่
์
เหมาะแก่การเลี้ยงสัตว์ วัว ควาย ไดจำนวนมาก ๆ พื้นที่ส่วนใหญ่ทำนา ทำสวน ทำไร่ยาสบ
้
ู
จึงตั้งชื่อ หมู่บ้านสั้น ๆ ว่า “บ้านนางัว” จนถึงปัจจุบัน
2.2 บ้านนางัวทุ่ง
้
้
เดิมบ้านนางัวทุ่ง หมู่ที่ 10 ไดแยกหมู่บานออกมาจากบ้านนางัว เนื่องจาก
มีที่นากว้างใหญ่ทั่วหมู่บ้าน ชาวบ้านจึงได้มาตั้งถิ่นฐานเพื่อหาแหล่งที่ดินทำกิน โดยจูงวัวและควาย
มาด้วย สมัยก่อนได้ใช้วัวควาย
เป็นยานพาหนะและใช้ไถนา
ทำการเกษตรต่าง ๆ สาเหตุการตั้งชื่อ
หมู่บ้านนี้ คือ การนำชื่อของหมู่บ้าน
เดิมที่อพยพคงไว้และนำลักษณะภูมิ
ประเทศที่รายล้อมด้วยทุ่งนาสีเขียว
มาตั้งชื่อหมู่บ้านใหม่เป็น บ้านนางัวทุ่ง
ลักษณะภูมิประเทศบ่งบอกถึงลักษณะ
ภูมิศาสตร์ของสถานที่ตั้งหมู่บ้านเช่นคำว่า นา เพื่อใชเป็นเครื่องสังเกตและให้ความหมายว่าสภาพทำเล
้
ที่ตั้งของหมู่บ้าน เป็นพื้นที่ทำกิน เป็นต้นและตั้งชื่อตามสัตว์ที่มีความเกี่ยวข้อง ได้แก่ คำว่า งัว