Page 24 - เล่มที่ 1 สรุปสาระสำคัญ RCEP
P. 24
- 20 -
(8) ข้อยกเว้นด้านความมั่นคงให้ภาคีสามารถด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงข้อมูลที่ตนเห็นว่าจะขัด
ต่อผลประโยชน์ด้านความมั่นคงที่ส าคัญและการบ ารุงรักษาหรือฟื้นฟูสันติภาพหรือความมั่นคงระหว่างประเทศได้
ุ
ิ
ี
10.3 การเปดเสรการลงทน ให้นักลงทุนของภาคีเข้ามาลงทุนในสาขาที่ไม่ใช่บริการ (non-service
ื
ู
่
่
้
้
ิ
ั
sectors) ภายใตสาขาการเกษตร ประมง เหมองแร ปาไม และการผลต โดยจดทารายการขอสงวนในรปแบบ
้
ี
ิ
ั
ี
่
ุ
Negative List Approach ซ่งสามารถระบในสวนของการสงวนสทธิของภาคในการใช้มาตรการของรฐบาลทไม ่
่
ึ
สอดคล้องกับพันธกรณีไว้ในรายการ เอ (List A) และการสงวนสิทธิของภาคีในการปรับเปลี่ยนมาตรการต่าง ๆ ใน
ั
อนาคตไว้ในรายการ บี (List B) และก าหนดให้ผูกพน (1) กลไก Ratchet หมายถึง การให้สิทธิประโยชน์กับนัก
ลงทุนของภาคีโดยอตโนมัติ หากกฎหมายภายในได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้เสรีมากยิ่งขึ้น ซึ่งไม่สามารถแก้ไข
ั
กฎหมายให้เข้มงวดกว่าที่ระบุไว้ได้ โดยกลไกดังกล่าวจะมีผลผกพันในอีก 5 ปี หลังจากความตกลงฉบับนี้มีผลใช้
ู
บังคับ ส าหรับออสเตรเลีย จีน ญี่ปุ่น เกาหล นิวซีแลนด์ บรูไนดารุสซาลาม สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม ทั้งนี้
ี
กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว เมียนมา และฟิลิปปินส์ ไม่ผูกพันกลไก Ratchet ซึ่งจะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์จากกลไกนี้
ื
ี
จากภาคอ่น และ (2) หลักการการปฏิบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่ง (Most-Favoured Nation
ั
Treatment: MFN) หมายถึง การให้สิทธิประโยชน์กับนักลงทุนและการลงทุนของภาคีโดยอตโนมัติ หากรัฐได้
ขยายสทธิประโยชน์ที่ดีกว่าที่ให้ในความตกลงฉบับนี้แก่การลงทุนและนักลงทุนจากประเทศนอกภาคี โดยภาคีที่
ิ
ู
ุ
ิ
ั
ี
ี
ี
ผูกพนหลักการนี้ ได้แก่ ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลี นิวซีแลนด์ บรไนดารสซาลาม อนโดนเซย มาเลเซย
ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ทั้งนี้ ส าหรับ กัมพชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม ไม่ผูกพนหลักการนี้และจะไม่ได้รับ
ู
ั
การขยายสิทธิประโยชน์ที่ภาคีอื่นให้กับประเทศนอกภาคี
10.4 การส่งเสริมการลงทุน ภาคีจะต้องพยายามส่งเสริมและร่วมมือกันเพื่อท าให้ภูมิภาคเป็นที่รู้จักมาก
ขึ้นในฐานะเขตการลงทุนโดยการส่งเสริมการลงทุนระหว่างกลุ่มภาคี การจัดกิจกรรมการส่งเสริมการลงทุนร่วมกัน
ู
การสงเสริมงานการจับคธุรกจ การจัดงานรายงานสรุปและการสัมมนาเกี่ยวกับโอกาสการลงทุน และเกี่ยวกับ
ิ
่
่
กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และนโยบายการลงทุน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นอนที่มีความสนใจ
ื่
ร่วมกัน
ุ
ี
ุ
ั
10.5 การอานวยความสะดวกการลงทน ภาคจะต้องพยายามอ านวยความสะดวกการลงทนระหว่างกน
ื
โดยการสร้างสภาวะแวดล้อมที่จ าเป็นส าหรับการลงทุนในทุกรูปแบบ การท าให้กระบวนการสาหรับการยนคาขอ
่
ุ
ึ
ั
ุ
้
และการอนมติการลงทนของตนง่ายขน การส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลด้านการลงทุน รวมถึงกฎเกณฑ์ กฎหมาย
้
ั
ุ
ั
ั
ระเบียบขอบงคบ นโยบาย และกระบวนการด้านการลงทน และการจดต้งจุดติดต่อ (contact points) ศูนย์การ
ั
ื่
ุ
ลงทนแบบเบ็ดเสร็จ (one-stop investment centres) ผู้ประสานงานหลัก (focal point) เพอให้ความ
ช่วยเหลือและให้ค าปรึกษาแก่นักลงทุน รวมถึงการอานวยความสะดวกเกี่ยวกับใบอนุญาตด าเนินงาน และ
ใบอนญาตต่าง ๆ นอกจากนี้ ภาคีอาจให้การช่วยเหลือเพอหาทางออกเกี่ยวกับข้อร้องเรียนหรือปัญหาต่าง ๆ ที่
ื่
ุ
อาจเกิดขึ้นหลังจากที่นักลงทุนได้เข้าไปลงทุนแล้ว
10.6 ภาคีจะต้องเข้าร่วมหารือเรื่องการระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับรัฐ และมาตรการด้านภาษซึ่ง
ี
ถือเป็นการเวนคืน ภายใน 2 ปีหลังจากวันที่ความตกลงมผลใช้บังคบ และจะตองสรุปการหารือภายใน 3 ปี นับ
้
ี
ั
จากวันที่เริ่มการหารือ
บทที่ 11 ทรัพย์สินทางปัญญา
บททรัพย์สินทางปัญญา ประกอบด้วย 83 ข้อบท (แบ่งเป็น 12 ส่วนส าคัญ ได้แก่ บทบัญญัติทั่วไป
ิ
และหลักการพื้นฐาน ลิขสิทธิ์และสิทธิข้างเคียง เครื่องหมายการค้า สิ่งบ่งชี้ทางภูมศาสตร์ สิทธิบัตร การ
ุ
ออกแบบอตสาหกรรม ทรพยากรพันธกรรม ภูมปญญาทองถ่น และการแสดงออกทางวฒนธรรมดงเดม การ
้
ั
ุ
้
ิ
ิ
ั
ิ
ั
ั
ั
์
ั
่
ิ
ิ
ั
ิ
ื
ั
แข่งขันท่ไมเป็นธรรม ช่อประเทศ การบงคับใช้สทธในทรพยสนทางปญญา ระยะเวลาปรบตวและความ
ั
ี
ช่วยเหลือทางเทคนิค ประเด็นเกี่ยวกับกระบวนการ) ภาคผนวก 11 เอ (ระยะเวลาปรบตวเฉพาะภาคี) และ
ั
ั
ภาคผนวก 11 บี (รายการข้อเรียกร้องความช่วยเหลือทางเทคนิค)