Page 244 - รวมเล่มข้อบังคับ ระเบียบ 2566
P. 244
237
~ 4 ~
ในกรณีที่เข้ารับการรักษาพยาบาลหลายครั้ง แต่ละครั้งในระยะเวลาห่างกน
ั
ไม่เกิน 15 วัน ให้นับระยะเวลาการเข้ารับการรักษาพยาบาลครั้งหลังติดต่อกับการเข้า
รับการรักษาพยาบาลครั้งก่อน
11.5 กรณีที่ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล มีสิทธิได้รับการชดเชย
ค่ารักษาพยาบาลจากที่อน เช่น สำนักงานประกันสังคม บริษัทประกันภัย หรือ
ื่
หน่วยงานอน แต่ยังขาดอยู่ก็ให้ใช้ภาพถ่ายหรือสำเนาหลักฐานการรับเงินของ
ื่
ื่
สถานพยาบาล ที่บริษัทประกันภัยหรือหน่วยงานอนรับรองว่า ผู้มีสิทธิได้รับการ
ชดเชยค่ารักษาพยาบาลไปแล้วจำนวนเงินเท่าไร เป็นหลักฐานในการเบิกจ่ายเฉพาะ
ส่วนที่ยังขาดอยู่ได้
11.6 กรณีไปตรวจสุขภาพหรือรักษาโรคที่สถาบันมะเร็งแห่งชาติหรือองค์กรของทาง
ราชการที่ตรวจวิเคราะห์โรคมะเร็ง จะนำใบเสร็จรับเงินค่าตรวจมาเบิกเป็น
ค่ารักษาพยาบาลได้
11.7 กรณีที่ผู้รับการตรวจมีใบรับรองแพทย์ของแพทย์ผู้ตรวจรักษายืนยันว่าได้ป่วยจริง
ย่อมเบิกค่ารักษาพยาบาลได้
11.8 กรณีที่ผู้รับการตรวจได้จ่ายเงินเป็นค่ารักษาพยาบาล แต่ใบเสร็จรับเงินได้แยกเป็น
ค่าตรวจต่าง ๆ และค่ายา รวม 2 ฉบับ จะเบิกจ่ายได้ก็ต่อเมื่อเป็นการตรวจ
อันเนื่องมาจากการเจ็บป่วย
11.9 การจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการตรวจสุขภาพประจำปี ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
อัตราดังนี้
ก. ผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการตรวจสุขภาพต้องเป็นเจ้าหน้าที่หรือ
ลูกจ้างสหกรณ์ออมทรัพย์ครูนครสวรรค์ จำกัด
ข. ต้องเข้ารับการตรวจสุขภาพในสถานพยาบาลของทางราชการ หรือ
สถานพยาบาลเอกชน โดยนำผลการตรวจสุขภาพมาเสนอต่อผู้จัดการ
ภายในวันที่ 31 ตุลาคม ของทุกปี
ค. ค่าตรวจสุขภาพประจำปีให้เบิกได้ปีละหนึ่งครั้งจำนวนเงินตามที่จ่ายจริงแต่
ั
ไม่เกินสามพนบาท โดยแนบหลักฐานการจ่ายเงินพร้อมผลการตรวจ
สุขภาพ
11.10 การจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลอย่างอน ซึ่งมิใช่เป็นการตรวจ
ื่
สุขภาพประจำปี ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และอัตราดังนี้
(1) ผู้ที่เข้ารับการรักษาพยาบาลของทางราชการทั้งประเภทผู้ป่วยภายนอกหรือ
ผู้ป่วยภายใน ให้เบิกค่ารักษาพยาบาลได้เต็มจำนวนที่ได้จ่ายไปจริง เว้นแต่
ก. ค่าอวัยวะเทียมและอปกรณ์ในการบำบัดรักษาโรค รวมทั้ง
ุ
ค่าซ่อมแซม ให้เบิกได้ตามที่กระทรวงการคลังกำหนดสำหรับ
ข้าราชการโดยอนุโลม
ข. ค่าห้องและค่าอาหารให้เบิกได้ตามที่กระทรวงการคลังกำหนด
สำหรับข้าราชการโดยอนุโลม
(2) ผู้ที่เข้ารับการรักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยภายในจากสถานพยาบาลของ
เอกชน หรือสถานพยาบาลของเอกชนที่มิใช่สถานพยาบาลของเอกชนตาม