Page 62 - สื่อ E-Book วิชาส่งจ่ายไฟฟ้า
P. 62
รูปที่ 5.13 แบบไม่มีรูปผลึก (Amorphous)
ที่มา : https://www.epco.co.th
2. เซลล์แสงอาทิตย์ที่ท้าจากสารประกอบ เช่น สารประกอบแกลเลี่ยมอาเซไนด์ แคดเมียม
เทลเลอไรด์ คอปเปอร์ อินเดียมไดอาเซไนด์ เป็นตน ซึ่งมีทังแบบผลึกเด่ียว และผลึกรวม ส่วนใหญ่มี
้
์
่ี
ประสิทธิภาพสูง ข้อเสียของเซลลชนิดนีคือ มีราคาแพง บางชนิดท้าจากสารทเป็นพิษต่อสภาวะ
แวดล้อม และยังมีปัญหาเร่ืองอายุการใช้งานอีกด้วย
รูปที่ 5.14 เซลล์แสงอาทิตย์ทท้าจากสารประกอบ
ี่
ที่มา : https://inwfile.com/s-cp/o4uj7o.jpg
ในปัจจุบันได้มีการวิจัยพัฒนา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของเซลล์แสงอาทิตย์ ให้สูงขึ้น เช่น การ
เคลือบวัสดุลดการ สะท้อนแสงที่ผิวหน้า การทำพื้นผิวของเซลล์แสงอาทตย์ ให้ขรุขระเพื่อเพิ่มพื้นที่รับ
ิ
ิ
แสง และการสร้างเซลล์แสงอาทตย์แบบ ซ้อนกัน (Tandem Solar Cell) ซึ่งมีผลให้เซลล์แสงอาทิตย์ มี
ประสิทธิภาพขึ้นกว่าเดิมอีกร้อยละ 2-5
5.2.7 การผลิตไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์
ส่วนประกอบที่สำคัญในการผลตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสดงอาทิตย์ประกอบด้วย
ิ
1. Solar cell module เป็นการน้าเซลล์มาต่อขนานกันเพื่อให้กระแสไฟฟ้ามาก หรืออนุกรม
ี่
ี่
ี่
เพื่อให้ได้แรงดันไฟฟ้าสูงขึ้น มักจะถูกออกแบบให้อยู่ในกรอบอลูมิเนียมสเหลยม ทเรียกว่า
ี่
Photovoltaic Module เพื่อให้ง่ายต่อการติดตังใช้งานการติดตังแผงเซลลควรติดตังในทโล่ง ไม่อยู่
์
ใกล้ที่เกิดฝุ่น ควรตังเอียงประมาณ 10- 15 องศาจากแนวราบ โดยหันหน้าไปทางทิศเหนือหรือใต ้