Page 52 - หลักสูตรนักบริหารมหานครระดับกลาง รุ่นที่ 26...
P. 52

41






                              1.5 วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกองค์กร
                                  โอกาส
                                            1. กรุงเทพมหานครกำหนดวิสัยทัศน์ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในสัดส่วนที่
                       เหมาะสมระหว่างขนาดพื้นที่กับจำนวนประชากร เพื่อให้มีวิถีชีวิตใกล้ชิดกับธรรมชาติ

                                            2.กรุงเทพมหานครมีหน่วยงานในสังกัดที่มีประสบการณ์และความ
                       เชี่ยวชาญในแต่ละด้าน เช่น สำนักการระบายน้ำ มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการก่อสร้างเขื่อนริม
                       คลอง พัฒนาประสิทธิภาพคู คลอง และแหล่งน้ำ แก้ไขปัญหาน้ำท่วม เป็นต้น ทำให้เกิดการบูรณาการ
                                                  ั
                       ร่วมกันในการปฏิบัติงานเพื่อพฒนาพื้นที่ของสำนักงานเขตให้เกิดการใช้ประโยชน์ได้อย่างมี
                       ประสิทธิภาพสูงสุด
                                            3. นโยบายด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
                       ของรัฐบาลส่งผลดีต่อการดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานครเพราะเป็นส่วนช่วยให้
                       ประชาชนเกิดความตระหนักมากขึ้นในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนและครอบครัว

                                            4. ประชาชนมีความรู้จากการรับรู้ข้อมูลข่าวสารมากขึ้น ทำให้
                       กรุงเทพมหานครสามารถรณรงค์ สร้างความร่วมมือจากประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้มากขึ้น
                                            5. มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับในการปฏิบัติชัดเจน

                                  อุปสรรค
                                            1. พื้นที่สำนักงานเขตเป็นที่ลุ่มต่ำ มักเกิดปัญหาน้ำท่วมขัง ซึ่งสร้างความ

                       เดือดร้อนให้กับประชาชนเป็นอย่างมาก แม้จะมีคลองหลักอยู่หลายสาย แต่ก็ไม่สามารถระบายน้ำได้
                       อย่างมีประสิทธิภาพ
                                            2. การเติบโตทางเศรษฐกิจ สังคม และจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ทำให้

                       ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
                                            3. ไม่ทราบจำนวนประชากรแฝงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นอุปสรรคใน
                                              ิ่
                       การบริหารจัดการด้านการเพมพื้นที่สีเขียว
                                            4. หากปล่อยพื้นที่ให้รกร้างว่างเปล่าเป็นเวลานาน อาจส่งผลให้มีผู้บุกรุกท ี่

                       สาธารณะในพื้นที่เขตเพมขึ้น
                                          ิ่
                              1.6 วิเคราะห์ TOWS Matrix

                                  กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) เป็นกลยุทธ์ที่เกิดจากการจับคู่ระหว่างสภาพแวดล้อม
                       ภายในทางบวกคือจุดแข็ง (Strength) และสภาพแวดล้อมภายนอกทางบวกคือโอกาส (Opportunity)
                       ซึ่งก็คือการใช้จุดแข็งข้อได้เปรียบร่วมกับโอกาสที่ดีเพื่อนำมากำหนดเป็นกลยุทธ์เชิงรุกสำหรับ
                       สำนักงานเขตดอนเมือง ดังนี้

                                  S1 :   สำนักงานเขตได้รับความร่วมมือในการรื้อถอนบ้านเรือนของผู้ที่บุกรุกพื้นที่
                       สาธารณะบริเวณคูนายกิมสาย 2 ทำให้มีพื้นที่ว่างเปล่าสามารถเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับประชาชนใน
                       สำนักงานเขตมีคณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
                                    ุ
                                  O1 :  กรุงเทพมหานครกำหนดวิสัยทัศน์ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในสัดส่วนที่เหมาะสม

                       ระหว่างขนาดพื้นที่กับจำนวนประชากร เพื่อให้มีวิถีชีวิตใกล้ชิดกับธรรมชาติ
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57