Page 82 - หลักสูตรนักบริหารมหานครระดับกลาง รุ่นที่ 26...
P. 82
70
2. อุปสรรคในการเดินทางและความสะดวกในการเดินทางไปใช้บริการ
ดังนั้น เพื่อให้ได้แนวทางและข้อยุติในการค้นหาแนวทางในการพัฒนาห้องสมุดการเรียนรู้
้
ให้ประชาชนได้เขาถึงได้ง่าย จึงได้สำรวจความคิดเห็นประชาชนถึงช่องทางที่กรุงเทพมหานครควร
ื่
พัฒนา เพอให้ ประชาชนได้ใช้บริการประชาชนได้อย่างสะดวกมากขึ้น พบว่าร้อยละ 73 ควรพัฒนา
ึ
ให้เป็นห้องสมุดออนไลน์ เพอให้ประชาชนเข้าถงได้มากขึ้น รวมทั้งควรใช้ระบบการเข้าโดยช่อง
ื่
ื่
้
ทางการสแกน QR CODE เพอเป็นการง่าย และไม่ยุ่งยาก จากสถิติขอมูลข้างต้น รวมทั้งปัญหา
อุปสรรคที่ประชาชนได้สะท้อน ทำให้กรุงเทพมหานครต้องมี การปรับเปลี่ยนแนวทางการนำเสนอ
และกำหนดรูปแบบแนวทางในการเข้าถึงขอมูลข่าวสาร และองค์ความรู้ต่างๆ
้
ให้สอดคล้องกับยุคสมัย ที่เน้นการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ประชาชนส่วนใหญ่ใช้
โทรศัพท์มือถือในการทำ ธุรกรรมต่างๆ จึงได้จัดทำโครงการห้องสมุดสำหรับทุกคน LIBRARY 4.0 ขึ้น
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเพมช่องทางการเข้าถึงการใช้บริการห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร
ิ่
2. เพื่อให้มีแพลตฟอร์มห้องสมุดออนไลน์ของกรุงเทพมหานคร
ื่
3. เพื่อยกระดับมาตรฐานห้องสมุดเพอการเรียนรู้ของกรุงเทพมหานครให้มีความทันสมัย
วิธีการศึกษา
ดำเนินการวิเคราะห์ และศึกษาสภาพปัญหาการให้บริการห้องสมุดของกรุงเทพมหานคร โดยใช้
1. หลักกลยุทธ์วิเคราะห์แบบ Tows matrix (Swot) กลยุทธ์เชิงรุก SO ได้มาจากการ
ประเมิน สภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งและโอกาส และนำข้อมูลที่ได้มาพิจารณาร่วมกัน จึงได้จัดทำ
โครงการห้องสมุดสำหรับ ทุกคน LIBRARY 4.0 ขึ้น
2. ใช้แบบสอบถามตามแบบ Google From มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 281 คน
3. วิเคราะห์สถิติผู้ใช้บริการเปรียบเทียบ 3 ปี โดย ปี พ.ศ. 2560 จำนวน 2,512,258
ครั้ง ปี พ.ศ.๒๕๖๑ จำนวน ๒,๒๔๗,๙๕๙ คน และปี พ.ศ.๒๕๖๒ จำนวน ๑,๘๖๗,๕๙๑ คน
ข้อค้นพบ
จากการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในการใช้บริการห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ดังกล่าว
สามารถสรุปได้ว่าห้องสมุดมีความจำเป็นต่อการประกอบอาชีพ การเรียน การศึกษา และ
ชีวิตประจำวัน โดยปัญหา ในเบื้องต้นที่ประชาชนใช้บริการห้องสมุดในอัตราที่น้อยในปัจจุบัน มีสาเหตุ
มาจาก
1. ข้อมูลข่าวสารและการรับรู้ถึงการมีอยู่ของห้องสมุด
2. อุปสรรคในการเดินทางและความสะดวกในการเดินทางไปใช้บริการ และได้ค้นพบ
แนวทางในการพัฒนาห้องสมุดเพอการเรียนรู้ให้ประชาชนได้เข้าถึงได้ง่าย และ สะดวกมากขึ้น พบว่า
ื่
3. ร้อยละ 73 ควรพัฒนาให้เป็นห้องสมุดออนไลน์ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงได้มากขึ้น
4. ควรใช้ระบบการเข้าโดยช่องทางการสแกน QR CODE เพื่อเป็นการง่ายและไม่ยุ่งยาก