Page 91 - หลักสูตรนักบริหารมหานครระดับกลาง รุ่นที่ 26...
P. 91

79






                                                            ื่
                       ตาราง 3.1 สถิติจำนวนผู้ใช้บริการห้องสมุดเพอการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร จำนวน ๓๖ แห่ง
                       ปีงบประมาณ ๒๕๖0 – ๒๕๖๒


                                                                    จำนวนผู้ใช้บริการ (หน่วย : ครั้ง)
                                     ประเภท
                                                              ปี 2560         ปี ๒๕๖๑         ปี ๒๕๖๒
                        ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้กรุงเทพมหานคร
                        จำนวน ๓๖ แห่ง

                       ที่มา : กลุ่มงานพัฒนาห้องสมุดประชาชน กองนันทนาการ สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว
                       (๔)  ข้อมูลการวิเคราะห์ปัจจัยภายในองค์กร


                                                            วิสัยทัศน์


                              เป็นองคกรหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของคนกรุงเทพมหานครด้วยกีฬา นันทนาการ
                                     ์
                       ดำรง ไว้ซึ่งคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และนำกรุงเทพมหานคร สู่การ

                       เป็นมหานครด้านการ ท่องเที่ยวระดับโลก
                       1. การประเมินสภาพแวดล้อม (SWOT)

                                                        สภาพภายในองค์กร
                                   จุดแข็ง (Strengths)                     จุดอ่อน (Weaknesses)
                          S๑ กรุงเทพมหานครส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด W๑ การจัดหาพื้นที่ในการจัดตั้งห้องสมุดฯ ที่มี

                        ชีวิต ให้กับประชาชน โดยการสร้างและ       ความ เหมาะสมในกรุงเทพมหานครหาได้ยาก
                        ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ ให้มีความทันสมัยและ  เพราะเป็นพื้นที่ เศรษฐกิจ ทำให้ไม่มีห้องสมุด
                        มีอัตลักษณ์โดดเด่น    S๒ การบริหารจัดการ  ครบทุกพื้นที่เขต   W๒ ฐานข้อมูลความ
                        ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้มี เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ ต้องการของประชาชนเพื่อใช้ใน การจัดกิจกรรม

                        ประจำทุกห้องสมุดเกิดเป็น เครือข่ายการ    ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายยังมีไม่ เพียงพอ
                        ทำงานที่เข้มแข็งร่วมกัน    S๓ มีการนำ    อย่างแท้จริง   W๓ ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ของ
                        เทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจัดการ ใน       กรุงเทพมหานคร  ยังไม่เป็นที่รู้จักของบุคคล

                        ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ เช่น การทำบัตรสมาร์ท ทั่วไปเท่าทควร   W๔ ข้อมูลการให้บริการของ
                                                                          ี่
                        การ์ด การยืม การคืน สืบค้นด้วยระบบ       แต่ละห้องสมุดยังกระจาย อยู่คนละแห่ง
                        Electronic ทำให้การ มาใช้บริการมีความ    ตามแต่ละพื้นที่   W๕ สถิติการเข้าใช้บริการ
                                                           ื่
                        สะดวกและรวดเร็วขึ้น    S๔ มีห้องสมุดเพอ  ห้องสมุดยังมีน้อย ประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ คน ต่อ
                        การเรียนรู้กรุงเทพมหานคร  จำนวน ๓๖ แห่ง   เดือน หรือ ๑,๙๐๐,๐๐๐ คนต่อปี

                        รถห้องสมุดเคลื่อนที่ จำนวน ๕ คัน
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96