Page 10 - ตำนานการสวดพระมาลัย
P. 10

๔


                                          พระมาลัยในเชิงนิกายมหายาน



                       พระกษิติครรภมหาโพธิสัตว์เป็นนามของพระโพธิสัตว์ ซึ่งเป็นทนับถือเป็นหลักอยู่ในศาสนา
                                                                                ี่
               พุทธมหายานในแถบเอเชียตะวันออก มักแสดงไว้ด้วยรูปลักษณ์ของพระภิกษุมหายาน นามของพระ

               โพธิสัตว์องค์นอาจแปลได้ว่า "ขุมทรัพย์แห่งแผ่นดน" ("Earth Treasury"), คลังแห่งแผ่นดิน ("Earth
                            ี้
                                                             ิ
                                                                                 ิ
               Store"), "บ่อเกิดแห่งแผ่นดิน"( "Earth Matrix"), หรือ "ครรภ์แห่งแผ่นดน" ("Earth Womb")พระ
               กษิติครรภมหาโพธิสัตว์เป็นที่รู้จักจากปณิธานของพระองค์ซึ่งมุ่งรับผิดชอบการสั่งสอนสรรพสัตว์ที่อยู่

               ในกามภูมิทั้งหก ระหว่างสมัยของศาสนาพระโคตมพุทธเจ้าจนถึงการมาตรัสรู้ของ


                                                                                         ั้
               พระศรีอริยเมตไตรย และมหาปณิธานสําคัญในการชวยสัตว์โลกให้พ้นจากนรกทงหมด หากนรกยังไม่
                                                                ่
               ว่างจากสัตว์นรกก็จะยังไม่ขอบรรลุพุทธภูมิ ด้วยเหตดังกล่าวพระองค์จึงถือว่าเป็นพระโพธิสัตว์แห่ง
                                                               ุ

                         ั้
                                 ่
               สัตว์นรกทงปวง เชนเดียวกับการเป็นผู้คุ้มครองเด็กทั้งหลาย และเทพอุปถัมภ์ของเด็กที่เสียชีวิตและ
                      ี่
                                                                                    ี้
               ทารกทตายจากการแท้งในวัฒนธรรมญี่ปุุนรูปลักษณ์ของพระโพธิสัตว์องค์น ปกติมักทําเปนรูป
                                                                                                 ็
               พระภิกษุมหายาน มีรัศมีเปล่งรอบพระเศียรซึ่งปลงพระเกศาแล้วหัตถ์หนึ่งทรงจับไม้เท้าซึ่งใชเปิด
                                                                                                    ้
               ประตูนรก อีกหัตถ์หนึ่งทรงถือแก้วจินดามณี (แก้วสารพัดนึก) เพื่อประทานแสงสว่างท่ามกลางมืดอีก

               ตํานานหนึ่งกล่าวว่า พระกษิติครรภมหาโพธิสัตว์ได้ปรากฏตัวขนในประเทศจีนสมัยโบราณ และเลือก
                                                                         ึ้

               โพธิมัณฑะ (ที่ตรัสรู้) ที่ภูเขาจิ่วหัวซัน ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ภูเขาศักดิ์สิทธิ์ทางพุทธศาสนาในประเทศจีน ใน

               สมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก รัชกาลพระเจ้าฮั่นหมิงต ศาสนาพุทธซึ่งกําลังรุ่งเรืองและจะเจริญอย่างถึง
                                                              ี้
                                  ์
                                                                         ั้
                                                                                               ั้
               ที่สุดในสมัยราชวงศถัง ได้แพร่หลายไปสู่ดินแดนเกาหลี ในยุคนนพระสงฆ์และบัณฑิตทงปวงจาก
                                                                                                          ั้
               เกาหลีจะศึกษาพุทธศาสนาโดยการเดินทางไปศึกษาที่จีนเป็ นหลัก หนึ่งในจํานวนผู้แสวงบุญเหล่านน

               เป็ นอดตมกุฎราชกุมารแห่งซินลอก๊ก (อาณาจักรซิลลา) ผู้มีนามว่า "กิมเคียวกัก" (ฮันจา: 金喬覺
                       ี
               อ่านเป็นภาษาจีนกลางได้ว่า "Jin Qiaojue") ซึ่งได้ผนวชเป็นภิกษุในฉายา "จีจาง" (เป็นการออกเสียง

               อย่างเกาหลีของคําว่า "ตจ้าง")[3] วันประสูติของท่านคือวันท 30 เดือนเจ็ดจีน ซึ่งต่อมาได้ถือเป็นวัน
                                      ี้
                                                                       ี่
                                                                                    ั้
               สําหรับการสมโภชพระกษิติครรภมหาโพธิสัตว์อุปนิสัยของพระภิกษุจีจางนนชอบความสงบและการ
               บําเพ็ญสมาธิ จึงได้ออกเดินทางแสวงหาสถานที่สงบวิเวกตามปุาเขา จนกระทั่งมาถึงภูเขาจิ่วหัวซันใน

                                                           ํ้
               เขตมณฑลอันฮุยในป๎จจุบัน ท่านจึงถือเอาปากถาแห่งหนึ่งใกล้ที่ราบกลางหุบเขานั้นเป็นที่พํานักและ

               บําเพ็ญสมณธรรมตามตํานานกล่าวว่า วันหนึ่งพระจีจางถูกงูกัดที่เท้าขณะที่บําเพ็ญสมาธิอยู่ แต่ท่านก็
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15