Page 153 - (ทดสอบ) สำมะโนที่ดิน
P. 153

39


                                                             บทท 5
                                                                   ี่

                                                     สรุปผลกำรดำเนินงำน

                       5.1 สรุปผลกำรด ำเนินงำน

                                                                       ั
                              โครงการส ารวจจัดท าส ามะโนที่ดินเพอการพฒนาที่ดิน ในแผนการใช้ที่ดินระดับต าบล
                                                                ื่
                       ต าบลห้วยยาง อ าเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา เนื้อที่ 41,203 ไร่ มีรายละเอียดโดยสรุปได้ดังนี้

                            5.1.1 ข้อมูลลักษณะแปลงที่ดิน

                                     ก) ด าเนินการส ารวจฯ ในพนที่ 12 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านด่านช้าง บ้านดอนกระชาย
                                                             ื้
                       บ้านห้วยยาง บ้านขามเตี้ย บ้านห้วยคร้อ บ้านดงบัง บ้านเก่างิ้ว บ้านบุไทย  บ้านหนองหญ้าปล้อง
                       บ้านสระไผ่ บ้านดงสว่าง และบ้านหนองไผ่งาม

                                     ข) ด าเนินการส ารวจแปลงถือครองที่ดินโดยวิธีการสัมภาษณ์เกษตรกรจ านวน 1,929 แปลง
                                     ค) เกษตรกรถือเอกสารสิทธิประเภท โฉนดที่ดิน มากที่สุด จ านวน 1,770 แปลง
                       (ร้อยละ 91.76) และ ส.ป.ก. 4-01 จ านวน 141 แปลง (ร้อยละ 7.31)
                                     ง) เกษตรกรผู้มาให้ข้อมูลเป็นเจ้าของที่ดินเอง จ านวน 1,155 แปลง (ร้อยละ 59.88)
                       ญาติ/เข้าท าเปล่า จ านวน 641 แปลง (ร้อยละ 33.23) ผู้เช่า จ านวน 78 แปลง (ร้อยละ 4.04)

                                     จ) ขนาดสัดส่วนแปลงที่ดินของเกษตรกรมีขนาดเนื้อที่อยู่ระหว่างแปลงที่ดินที่มีขนาด
                       5 - 10 ไร่ จ านวน 568 แปลง (ร้อยละ 29.45)

                              5.1.2 ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                                     ก) เกษตรกรท านามากที่สุด จ านวน 1,634  แปลง (ร้อยละ 84.71) รองลงมา คือ

                       ปลูกมันส าปะหลัง จ านวน 80 แปลง (ร้อยละ 4.15) ปลูกอ้อย จ านวน 59 แปลง (ร้อยละ 3.06)
                                     ข) ด้านน้ าต้นทุนเพอการเกษตร พบว่า เกษตรกรในพนที่มีการใช้น้ าด้านเกษตรกรรม
                                                     ื่
                                                                                  ื้
                                                                                                         ื่
                       จากน้ าฝนมากที่สุด จ านวน 1,141 แปลง (ร้อยละ 59.15) รองลงมาเป็นการใช้น้ าจากแหล่งน้ าอน ๆ
                       (ฝน, ล าห้วย, โซล่าเซลล์) จ านวน 779 แปลง (ร้อยละ 40.38) และใช้น้ าจากบ่อ/สระขุดเอง
                       จ านวน 394 แปลง (ร้อยละ 20.43)
                                                              ั
                                     ค) ปัญหาทางการเกษตร 3 อนดับแรกที่พบในพนที่ด าเนินการ ได้แก่  ปัญหาโรคพช/
                                                                                                           ื
                                                                              ื้
                       ศัตรูพช จ านวน 1,761 แปลง (ร้อยละ 91.29) รองลงมาเป็นภัยแล้ง จ านวน 1,478 แปลง (ร้อยละ
                            ื
                       76.62) และเป็นเรื่องราคาผลผลิตตกต่ า จ านวน 1,108 แปลง (ร้อยละ 57.43)
                                     ง) เกษตรกรมีการใช้ปุ๋ยเคมี มากที่สุด จ านวน 918 แปลง (ร้อยละ 47.59 ) รองลงมาคือ
                       ใช้ปุ๋ยเคมี/ปุ๋ยอินทรีย์ จ านวน 795  แปลง (ร้อยละ 41.21) และปุ๋ยอินทรีย์ จ านวน 178 แปลง (ร้อยละ 9.23)
                                                                          ื
                                                                    ื
                                     จ) เกษตรกรไม่ใช้สารเคมปราบโรคพชศัตรูพช จ านวน 1,262 แปลง (ร้อยละ65.42)
                                                          ี
                       รองลงมา คือ มีการใช้สารเคมีปราบโรคพืชศัตรูพืช 667 แปลง (ร้อยละ 34.58)
                                     ฉ) สภาพปัญหาพบว่ามีปัญหามากที่สุด 3 อนดับแรก ได้แก่ ปัญหาดินทราย จ านวน 973 แปลง
                                                                      ั
                                                                   ุ
                       (ร้อยละ 50.44) รองลงมาเป็นปัญหาดินขาดความอดมสมบูรณ์ จ านวน 597 แปลง (ร้อยละ 30.95)
                       และปัญหาดินเหนียว จ านวน 421 แปลง (ร้อยละ 21.82)
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158