Page 154 - (ทดสอบ) สำมะโนที่ดิน
P. 154
40
5.1.3 ข้อมูลการขึ้นทะเบียนเกษตรกร
ก) การขึ้นทะเบียนเกษตรกรกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า เกษตรกรมีการขึ้น
ทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตรมากที่สุด จ านวน 1,862 แปลง (ร้อยละ 96.52) รองลงมาไม่ขึ้น
ทะเบียน จ านวน 60 แปลง (ร้อยละ 3.11) และขึ้นทะเบียนกรมการข้าว จ านวน 5 แปลง (ร้อยละ 0.26)
ข) การขึ้นทะเบียนบัตรดินดีของกรมพัฒนาที่ดิน พบว่า เกษตรกรมีการขึ้นทะเบียนบัตรดินดี
จ านวน 58 แปลง (ร้อยละ 3) และไม่ขึ้นทะเบียนบัตรดินดี จ านวน 1,871 แปลง (ร้อยละ 97)
ค) รายได้จากผลผลิตทางเกษตร พบว่า เกษตรมีก าไร มากที่สุด จ านวน 521 แปลง
(ร้อยละ 27) รองลงมา เกษตรกรไม่มีผลก าไรและไม่ขาดทุน จ านวน 509 แปลง (ร้อยละ 26.39) และ
เกษตรกรขาดทุนจากผลผลิตทางการเกษตร จ านวน 478 แปลง (ร้อยละ 24.78)
5.2 ปัญหำและอุปสรรค
ื้
ื้
ื้
5.2.1 เกษตรกรเจ้าของพนที่หรือผู้ใช้ประโยชน์ในพนที่ด าเนินงานมีภูมิล าเนาอยู่นอกพนที่
ท าให้ไม่มีข้อมูลจากการสัมภาษณ์โดยตรงการประสานงานในกลุ่มเกษตรกรไม่ทั่วถึง และบางราย
ไม่ให้ความส าคัญกับการด าเนินงานของโครงการ
5.2.2 ในช่วงปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เกษตรบางกลุ่มจะติดภารกิจในการเข้าดูแลพชผลที่ปลูก
ื
จึงไม่สามารถเข้ามาให้ข้อมูลได้
ื้
ื้
5.2.3. การระบาดของโรคโควิด - 19 ท าให้การเข้าพนที่สัมภาษณ์และชี้แปลงเกษตรกรในพนที่
ไม่ต่อเนื่องสม่ าเสมอ ส่งผลให้การจัดเก็บข้อมูลล่าช้าและบุคลากรมีความเสี่ยงต่อการติดโรค
5.3 ข้อเสนอแนะ
ั
ั
ส านักงานพฒนาที่ดินเขต สถานีพฒนาที่ดิน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง น าข้อมูลและแผนที่
ไปใช้ประโยชน์ได้ดังนี้
5.3.1 สามารถน าแผนที่การถือครองที่ดินและข้อมูลอรรถาธิบาย (Attribute) มาใช้ในงานของ
กรมพัฒนาที่ดิน และหน่วยงานต่าง ๆ ภายในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เช่น
ั
ก) เรื่องทัศนคติของเกษตรกรส าหรับงานด้านพฒนาที่ดิน และปัญหาด้านการเกษตร
ื
สามารถใช้เป็นฐานข้อมูลประกอบการให้ค าแนะน าในการจัดการดินส าหรับการปลูกพชเศรษฐกิจตาม
ความเหมาะสมเป็นรายแปลงได้
ข) เรื่องปัญหาการขาดแคลนน้ าส าหรับการเกษตรสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลส าหรับงาน
ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการพัฒนาที่ดินและแหล่งน้ า เช่น การอนุรักษ์ดินและน้ า การสร้าง
แหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน และการสร้างแหล่งน้ าเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า
ค) เรื่องการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรแปลงใหญ่
ง) ด้านการวางแผนเพื่อการขายพืชผลทางการเกษตร
5.3.2 สามารถน าแผนที่การถือครองที่ดินและข้อมูลอรรถาธิบาย (Attribute) ใช้เป็นฐานข้อมูล
ื้
ด้านการตรวจสอบ การปรับปรุง และจัดท าข้อมูลเชิงพนที่ของข้อมูลด้านดิน ด้านสภาพการใช้ที่ดิน
ด้านการก าหนดเขตความเหมาะสมส าหรับพชเศรษฐกิจ (โซนนิ่ง) ด้านระบบการจัดการน้ า และระบบ
ื
การกระจายน้ า ด้านเศรษฐกิจสังคม ด้านปัญหาและความต้องการด้านการเกษตร
5.3.3 สามารถบูรณาการแผนที่การถือครองที่ดินและข้อมูลอรรถาธิบาย (Attribute) ส าหรับ
งานด้านการขึ้นทะเบียนเกษตรกรร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตร เพอให้สอดคล้องกับนโยบายของ
ื่
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์