Page 7 - สาระสำคัญเล่ม1
P. 7

3.5สนามโน้มถ่วงทำให้เกิดแรงโน้มถ่วงกระทำต่อมวลของวัตถุ  สนามโน้มถ่วงเป็นปริมาณเวกเตอร์ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์   
                                                                                                                ⃗
                                                                                                                  ⃗
        สนามโน้มถ่วงที่ตำแหน่งใดๆ       หาได้จากแรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อวัตถุมวลหนึ่งหน่วย    หรือ            =
                                                                                                         ⃗
                                                                                                                 
               ความเร่งโน้มถ่วงของโลก    ณ ตำแหน่งที่ห่างจากผิวโลกแปรผกผันกับกำลังสองของระยะทางจากศูนย์ กลางของโลก
                                      ⃗
        (  มีค่าลดลง ที่ตำแหน่งห่างจากผิวโลกมากขึ้น)
          ⃗

        วัตถุที่อยู่ห่างจากโลกมากๆ น้ำหนักของวัตถุจะน้อยมากจนเกือบเป็นศูนนย์ เรียกว่าวัตถุอยู่ในสภาพไร้น้ำหนัก วัตถุที่ตกแบบเสรี

        จะไม่มีแรงเนื่องจากน้ำหนักวัตถุกดพื้น เรียกว่า วัตถุอยู่ในสภาพเสมือนไร้น้ำหนัก


















                                                           ู่
               3.6แรงเสียดทาน เป็นแรงที่เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสคหนึ่ง แรงเสียดทานมีสองชนิด คือแรงเสียดทานจลน์ มีทิศทางตรง
        ข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ  และ  แรงเสียดทานสถิต  มีทิศทางตรงข้ามกับทิศทางตรงข้ามกับทิศทางที่วัตถุพยายามจะ

        เคลื่อนท  ี่
















                       3.7แรงเสียดทานจลน์มีขนาด   =     Nเมื่อ     เป็นแรงเสียดทานจลน์ N เป็นแรงกดระหว่างผิวสัมผัสใน
                                                   
                                                          
                                                                   
                                                                          ่
                                                                      ั
                                                                                                    ั
               แนวตั้งฉากผิวสัมผัส และ     เป็นค่าคงตัวขึ้นกับชนิดของผิวสัมผสแตละคู่เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ เรียกว่าสมประสิทธิ์ความ
                                         
               เสียดทานจลน์
                       3.8แรงเสียดทานสถิตมี              =     N เมื่อ             เป็นแรงเสียดทานสถิตสูงสุด N เป็นแรงกดระหว่าง
                                                          
                                                           ็
                                                                                         ่
               ผิวสัมผสในแนวตั้งฉากผิวสัมผัสและ               เปนค่าคงตัวขึ้นกับชนิดของผิวสัมผัสแตละคู่เมื่อวัตถุอยู่นิ่ง  เรียกว่า
                     ั
               สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต
               การนำกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันไปใช้    กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันทั้งสามข้อเป็นความรู้พื้นฐานที่สำคัญมากในวิชา

        ฟิสิกส์  สามารถนำไปใช้หาปริมาณตาง  ๆ  ที่เกี่ยวข้องกับแรงและการเคลื่อนที่  รวมทั้งเรื่องสมดุล  และยังเป็นพื้นฐานสำหรับ
                                      ่
        นำไปใช้ศึกษาเรื่องอื่น ๆ เช่น งาน พลังงาน โมเมนตัม เป็นต้น
   2   3   4   5   6   7   8