Page 4 - เรื่องที่ ๑๔-๒๕๖๔ ระบบกล่าวหาและระบบไต่สวน
P. 4

๔




                                ส่วนการดำเนินคดีในระบบกล่าวหา (Adversarial System) เป็นระบบที่แก้ไขปัญหาระบบ

                                                                                                          ์
                  ไต่สวนที่ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม ที่รวมอำนาจในการสอบสวนฟ้องร้องและการพิจารณาคดีอยู่ในองคกร
                  เดียวกัน และไม่เปิดโอกาสให้จำเลยต่อสู้คดีหรือแก้ข้อกล่าวหาได้ ดังนั้น ระบบกล่าวหาจึงแยกหน้าที่สอบสวน

                  และฟ้องร้อง" ออกจากหน้าที่ใน "การพิจารณาพิพากษา" โดยให้องค์กรที่ทำหน้าที่ทั้งสองแยกต่างหากจากกัน
                  และยกฐานะของผู้ถูกกล่าวหาเป็น "ประธานในคดี" จึงไม่อยู่ในฐานะถูกซักฟอกหรือเป็นกรรมในคดี แต่ถือว่า
                  เป็นคน และเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาคดี มีสิทธิต่าง ๆ เพื่อเปิดโอกาสให้สามารถต่อสู้คดีได้อย่างเต็มที่ และ
                  ห้ามมิให้ดำเนินคดีอันมิชอบแก่ผู้ถูกกล่าวหา ซึ่งหมายถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐต้องให้ความเคารพต่อสิทธิอันเป็น
                  หลักประกันของผู้ถูกกล่าวหา ในการดำเนินคดีของศาลนั้น ศาลจะดำเนินคดีต่อเมื่อพนักงานอัยการฟ้องร้อง

                                                                          ๖
                                                                          ้
                  ต่อศาล และศาลจะมีคำพิพากษาหรือสั่งเกินกวาที่ขอมาในฟ้องไม่ได
                                                         ่
                                สำหรับระบบไต่สวนนั้นทำให้เกิดมีอัยการขึ้นมา โดยเห็นว่าการดำเนินคดีไม่ใช่เรื่องของ
                  เอกชนอีกต่อไป การกล่าวหาฟ้องร้องในคดีไม่สามารถที่จะพึ่งพิงการริเริ่มจากเอกชนได้ ระบบไต่สวนจึงเป็น
                                                                                                            ๗
                  ระบบที่เอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาการของศาลและกระบวนการยุติธรรม และทำให้ระบบคณะลูกขุนเสื่อมถอยไป
                                ๒.๒ ลักษณะสำคัญของระบบไต่สวนที่มีผลต่อบทบาทของศาลและคู่ความ
                                แต่เดิมมาการดำเนินคดีในระบบไต่สวนจะกระทำโดยผู้พิพากษาผู้กล่าวหา (juge accusateur)
                  ซึ่งได้รับมอบอำนาจที่สำคัญ ระบบไต่สวนจะใช้ในประเทศที่รัฐมีอำนาจมาก โดยคำนึงถึงประโยชน์ของสังคม

                  มาก่อนประโยชน์ส่วนตัวของบุคคล และไม่ต้องการคุ้มครองสิทธิของปัจเจกบุคคลมากจนเกินไป จนทำให้
                  ผู้กระทำผิดไม่ต้องรับโทษ
                                ระบบไต่สวนเป็นระบบวิธีพิจารณาคดีที่สอดคล้องกับหลักการไต่สวนโดยศาล (The Principal
                  of Judicial Investigation) โดยหลักการไต่สวนโดยศาลนี้ เป็นหลักที่ใช้กันมากในกฎหมายวิธีพิจารณา

                  ความอาญาและคดีปกครอง โดยมีเหตุผลว่าคดีอาญา คดีปกครอง ไม่ได้เป็นเรื่องผลประโยชน์ส่วนตัวของ
                  เอกชนแต่เพียงอย่างเดียว แต่เป็นเรื่องผลประโยชน์ของรัฐด้วย ศาลจึงควรมีอำนาจในการรวบรวมและแสวงหา
                  ข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานในคดีได้ด้วยตนเอง รวมทั้งมีอำนาจค้นหาสาระสำคัญ (material) หรือความจริง
                  ในคดี (absolute truth) ดังนั้น ศาลจึงมีหน้าที่ต้องพิจารณาให้แน่ใจถึงข้อเท็จจริงที่คู่ความนำเสนอและ

                  ต้องพิจารณาถึงข้อเท็จจริงที่คู่ความมิได้นำเสนอต่อศาลด้วย
                                ระบบไต่สวนจึงเป็นระบบวิธีพิจารณาคดีที่ทำให้ผู้พิพากษาได้รับความกระจ่างแจ้งในขอเท็จจริง
                                                                                                     ้
                                             ิ
                                                                             ิ
                                                                                ุ
                                                                                                  ิ
                                                                                                 ี
                                              ี
                                                                                                           ี
                  ก่อนที่จะตัดสนคดี เป็นระบบวธพิจารณาคดีที่ผู้พิพากษามีบทบาทเชงรก และเป็นระบบวธพจารณาคดที
                                                                                               ิ
                              ิ
                                                                                                            ่
                  ผู้พิพากษามีบทบาทสำคัญในการแสวงหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานในคดี ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ของรัฐ โดย
                                                      ้
                  คำนึงถึงประโยชน์ของรัฐมากกว่าประโยชน์ส่วนตัวของคู่ความ ซึ่งอาจทำให้กระทบสิทธิของคู่ความบางประการ
                  เช่น สิทธิในการโต้แย้งคัดค้านต่อสู้คดี (les droits de la défense) และผู้พิพากษาในระบบไต่สวนจะมีอำนาจ
                  ในการใช้ดุลพินิจพิจารณาพยานหลักฐานได้ด้วยตนเองมากกว่าผู้พิพากษาในระบบกล่าวหา




                                                                                             ั
                                               ิ
                  ชอบ พ.ศ. ๒๕๕๙ และพระราชบัญญัตวิธีพิจารณาคดคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๙, (กรุงเทพมหานคร : สำนกงานศูนย์วิจัยและให้
                                                          ี
                                                                 ์
                                                           ้
                  คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสำนกงานกจการยุติธรรม, ๒๕๖๐), หน้า ๔๐.
                                                     ั
                                                          ิ
                  ๖  Corinne RENAULT-BRAHINSKY, p. 33-34.
                  ๗ Serge GUINCHARD, Jacques BUISSON, Procédure Pénale, 7  édition (LexisNexis, 2011), pp. 45-46; Corinne
                                                                     e
                  RENAULT-BRAHINSKY, Op. cit., p.26.
   1   2   3   4   5   6   7