Page 3 - บทที่14 กระแสไฟฟ้า แก้1
P. 3
14.2.2 สภาพต้านทานไฟฟ้าและสภาพนำไฟฟ้า
เมื่อต่อแบตเตอรี่กับลวดโลหะ แล้ววัดความต่างศักย์ V ระหว่างปลายลวดและกระแสไฟฟา I ที่
้
ผ่านลวดนั้น มีความยาว l และมีพื้นที่หน้าตัดเท่ากัน พบว่าอัตราส่วนระหว่าง V และ I แปรผันตรงกับ l
V
หรือ ∝ l
I
ถ้าใช้ลวดยาวเท่ากันแต่พื้นที่หน้าตัด A ต่าง ๆ กัน พบว่าอัตราส่วนระหว่าง V และ I แปรผกผัน
V
1
กับ A หรือ ∝
I A
l
ดังนั้น R = ρ เมื่อ ρ เป็นค่าคงตัว
A
ρ เป็นค่าคงตัว เรียกว่าสภาพต้านทานไฟฟ้า หน่วย โอห์ม เมตร
ตัวต้านทานที่มีความต้านทานมากจะยอมให้กระแสไฟฟาผ่านน้อย จึงกล่าวว่าความนำไฟฟ้าน้อย
้
−1
ดังนั้นความนำไฟฟ้าจึงเป็นส่วนกลับของสภาพนำไฟฟ้าและมีหน่วยเป็น (โอห์ม) หรือซีเมนส์ (S)
สารที่มีสภาพต้านทานไฟฟ้ามากจะมีสภาพนำไฟฟ้าน้อย สภาพนำไฟฟ้าเป็นส่วนกลับของสภาพต้านทาน
−1
้
ไฟฟา มีหน่วยเป็น(โอห์ม เมตร) หรือซีเมนส์ต่อเมตร
ิ
ี
14.2.3 ผลของอุณหภูมที่มผลต่อสภาพต้านทาน
ฉนวน ฉนวนเป็นสารที่มีสภาพต้านทานสูง
สารกึ่งตัวนำ สารกึ่งตัวนำมีสภาพต้านทานอยู่ระหว่างฉนวนกับตัวนำ แต่ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้นจะนำ
ไฟฟ้าได้ดี
ตัวนำ ตัวนำเป็นสารที่มีสภาพต้านทานต่ำ
14.3 พลังงานไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า
14.3.1 แรงเคลื่อนไฟฟ้าและความต่างศักย์
พลังงานไฟฟ้าของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าหนึ่งหน่วยประจุไฟฟ้าได้รับเมื่อเคลื่อนที่ผ่านแหล่งกำเนิด
คือแรงเคลื่อนไฟฟ้า
E = V + Ir
ั
ความต่างศกย์ระหว่างขั้วแบตเตอรี่มีคาเท่ากับแรงเคลื่อนไฟฟ้าของแบตเตอรี่
่