Page 5 - บทที่14 กระแสไฟฟ้า แก้1
P. 5

    =     +    + ⋯ +   
                                                                               
                                                               2
                                                       1
                                     และ       =     +    + ⋯ +   
                                                      1
                                                                           3
                                                             2
                              14.4.2.2 การต่อแบตเตอรี่แบบขนาน  เป็นการนำขั้วชนิดเดียวกันของแบตเตอรี่แต่ละก้อนมา
               ต่อกัน  ถ้านำแบตเตอรี่หลายก้อนที่แต่ละก้อนมีแรงเคลื่อนฟ้าเท่ากันและความต้านทานภายในเท่ากัน
               แรงเคลื่อนไฟฟ้าสมมูลเท่ากับแรงเคลื่อนไฟฟ้าของแบตเตอรี่ก้อนเดียวกัน  และความต้านทานภายในสมมูลเท่ากับ

               ความต้านทานภายในของแบตเตอรี่ก้อนเดียวหารด้วยจำนวนแบตเตอรี่

               14.5 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงเบื้องต้น
                       เป็นการนำกฎพื้นฐานทางไฟฟ้า  กฎการอนุรักษ์พลังงาน  กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟา  การต่อตัวต้านทาน
                                                                                           ้
               และการต่อแบตเตอรี่ไปใช้หาปริมาณต่าง ๆ ในวงจรไฟฟ้าพื้นฐาน
               14.6 เครื่องวัดไฟฟ้า

                       14.6.1 แอมมิเตอร์ (ammeter) ได้รับการดัดแปลงมาจากแกนอมิเตอร์  เพื่อวัดกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด

               (เกิน    )  ตามที่ต้องการ  ทำได้โดยนำตัวต้านทานที่เรียกว่า ชันต์ (shunt)  มาต่อขนานกับแกลนอมิเตอร์
                       
                       แอมมิเตอร์ที่ดีต้องมีความต้านทานน้อยมากเมอเทียบกับความต้านทานในวงจร  เพอให้กระแสไฟฟ้าใน
                                                                                          ื่
                                                            ื่
               วงจรเปลี่ยนไปน้อยที่สุด
                                                                                                    ั
                       14.6.2 โวลต์มิเตอร์ (volemeter) ได้รับการดัดแปลงมาจากแกนอมิเตอร์  เพอวัดความต่างศกย์สูงสุด
                                                                                        ื่
               เกิน       ตามที่ต้องการทำได้โดยนำตัวต้านทาน  เรียกว่า  มัลติพลายเออร์ (multiplier)  มาต่ออนุกรมกับแกล
                        
               แวนอมิเตอร์

                       โวลต์มิเตอร์ที่ดีจะต้องมีความต้านทานสูงมากเมอเทียบกับความต้านทานอื่น ๆ ในวงจร  ทั้งนี้ก็เพอให้
                                                              ื่
                                                                                                      ื่
               กระแสไฟฟ้าในวงจรเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุดหรือไม่เปลี่ยนแปลงเลย  หลังจากที่นำโวลต์มิเตอร์มาต่อวัดความต่าง
               ศักย์ในวงจร

                       14.6.3 โอห์มมิเตอร์ (ohmmeter) ประกอบด้วยแกลแวนอมิเตอร์     ต่ออนุกรมกับตัวต้านทานแปร

               ค่า      และแบตเตอรี่      เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านโอห์มิเตอร์  ขนาดของมุมที่เข็มชี้เบนไปจะถูดสอบเทียบ
                    0
               กับมาตรฐาน (calibrate)  เพอบอกค่าความต้านทาน
                                        ื่
               14.7 การคำนวณหาพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน

                       เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านโดยทั่วไปใช้พลังงานไฟฟ้าจากแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ  ตามปกติ
               เครื่องใช้ไฟฟ้าจะมีตัวเลขระบุความต่างศักย์และกำลังไฟฟ้าที่ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า  ดังนั้นเพื่อให้เครื่องใช้งานได้ดี

               ตามที่ระบุจะต้องต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้ากับความต่างศักย์ตามตัวเลขที่ระบุ  สามารถนำตัวเลขที่ระบุนี้ไปคำนวณ
               พลังงานไฟฟ้าและกำลังที่ใช้  รวมทั้งค่าอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้

                       เราสมารถหาพลังงานไฟฟ้าที่เครื่องใช้ไฟฟ้าใช้ไปได้ ดังสมการ

                              พลังงานไฟฟ้า (หน่วย)  =  กำลังไฟฟ้า (กิโลวัตต์)  ×  เวลาที่ใช้ไฟ (ชั่วโมง)
   1   2   3   4   5   6