Page 108 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 108

95




                      ในปี พ.ศ.       ได้มีการตราพระราชบัญญัติทนายความฉบับใหม่ขึ นใช้โดยพระราชบัญญัติ
               ทนายความ พ.ศ.      นี   มีการโอนอํานาจออกใบอนุญาตว่าความจากอธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์มาให้

               เนติบัณฑิตยสภาเป็นผู้มีอํานาจโดยเด็ดขาด  เนติบัณฑิตยสภาจึงเป็นทั งผู้ออกใบอนุญาต  ผู้ควบคุม

               ระเบียบและมรรยาททนายความ  ซึ งในขณะนั นมีสํานักอบรมศึกษากฎหมายขึ นในเนติบัณฑิตยสภาแล้ว

               อีกทั งการควบคุมทนายความในระยะแรก ๆ เนติบัณฑิตยสภามุ่งดําเนินการตามแบบเนติบัณฑิตยสภา
               อังกฤษ  จึงกําหนดให้ผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัยต้องผ่านการสอบ

               เป็นเนติบัณฑิตที สํานักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาเสียก่อน  จึงจะขอจดทะเบียนเป็น

               ทนายความชั นหนึ งได้  ซึ งก็หมายความว่าผู้ที เรียนจบปริญญาตรีทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัยเป็นได้

               เพียงทนายความชั นสองเท่านั น  และตามบทบัญญัติให้สิทธิทนายความชั นหนึ งว่าความได้ทั วราชอาณาจักร

               ส่วนทนายความชั นสองมีสิทธิว่าความได้เฉพาะต่างจังหวัดที ได้รับใบอนุญาต  ข้อกําหนดดังกล่าวของ
               เนติบัณฑิตยสภาเป็นการกดขี และเป็นการปิดกั นเสรีภาพของผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี             จึง

               ก่อให้เกิดกระแสแห่งความไม่พอใจ  มีการเคลื อนไหว  เพื อการต่อสู้คัดค้านกันอย่างกว้างขวาง  โดยใช้เวลา

               ในการต่อสู้ถึง   ปีเศษ  จึงมีการแก้ไขพระราชบัญญัติทนายความในปี พ.ศ.       บัญญัติให้ผู้ที จบปริญญา

               ตรีทางกฎหมายเป็นทนายความชั นหนึ ง  มีสิทธิว่าความได้ทั วราชอาณาจักร  และยังคงให้มีทนายความชั น

               สองอยู่  แต่เนื องจากในระยะต่อมามีผู้สําเค็จการศึกษาระดับปริญญาตรีเพิ มมากขึ น  ทนายความชั นสองจึง

               ค่อย ๆ ลดจํานวนลง


                      ต่อมาในปี พ.ศ.       ได้มีการเปลี ยนแปลงชื อสมาคมจากเดิมเป็น “สมาคมทนายความแห่ง
               ประเทศไทย  ดังนั น  ในวันที     กุมภาพันธ์ของทุกปีจึงถือเป็น “วันทนายความ” อันเป็นวันสําคัญของผู้

               ประกอบวิชาชีพทนายความตลอดมาจนถึงปัจจุบัน


                      การก่อตั งสภาทนายความ


                             จากเหตุการณ์กรณีผลกระทบที เกิดจากบทบัญญัติในพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ.

                     ซึ งเป็นการจํากัดสิทธิของทนายความทําให้เกิดผลกระทบกับบรรดาทนายความชั นสองเอง  รวมถึง

               ประชาชนที ต้องการความรู้ความสามารถของทนายความชั นสอง  ก่อให้เกิดแนวความคิดประการสําคัญที
               ประกายให้เกิดสถาบันของทนายความในอันที จะทําหน้าที เป็นผู้ควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพทนายความเอง

               ดังเช่นที เป็นอยู่ในนานาประเทศ  สืบเนื องจากความคิดดังกล่าวจึงมีการเคลื อนไหวที จะจัดตั งสถาบัน

               ดังกล่าวให้เป็นรูปธรรมตามลําดับขั นตอน  กล่าวคือ
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113