Page 109 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 109
96
ปี พ.ศ. นายมารุต บุนนาค นายกสมาคมทนายความแห่งประเทศไทยและเป็น
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งขาติ (ตําแหน่งในขณะนั น) ได้เสนอร่างพระราชบัญญัติทนายความ เพื อก่อตั ง
สภาทนายความเข้าสู่การพิจารณาของสภานิติบัญญัติทนายความ แต่สภานี ได้สิ นสภาพลงก่อนร่าง
พระราชบัญญัติดังกล่าวจึงตกไปด้วย
ปีต่อมา คือปี พ.ศ. นายมงคล สุคนธขจร ซึ งดํารงตําแหน่งนายกสภาทนายความ
แห่งประเทศไทย ต่อจากนายมารุต บุนนาค และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา
(ในขณะนั น) พร้อมคณะได้ร่วมกันเสนอร่างพระราชบัญญัติทนายความ เพื อก่อตั งสภาทนายความต่อสภา
ผู้แทนราษฎรครั งหนึ ง โดยในครั งนี สภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติรับหลักการในสาระที แล้ว แต่รัฐบาลสมัย
ม.ร.ว.คึกฤทธิ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีประกาศยุบสภาเสียก่อน ร่างพระราชบัญญัตินี จึงตกไป
ครั งหนึ ง
จนกระทั ง พ.ศ. จึงได้มีการยกร่างพระราชบัญญัติทนายความขึ นใหม่ เพื อเรียกร้อง
ให้ได้มาซึ งสภาทนายความ ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวแล้วเสร็จเมื อ พ.ศ. และได้นําเสนอต่อนาย
ชวน หลีกภัย ซึ งขณะนั นดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี เพื อเสนอต่อที ประชุมคณะรัฐมนตรีดําเนินการ
ต่อไป ระยะเวลาตั งแต่ปี พ.ศ. ติดต่อกันเรื อยมาจนถึงปี พ.ศ. โดยมีผลบังคับใช้ตั งแต่วันที
ธันวาคม เป็นต้นมา
วัตถุประสงค์ของสภาทนายความ มีดังต่อไปนี
(๑) ส่งเสริมการศึกษาและการประกอบวิชาชีพทนายความ
(๒) ควบคุมมรรยาทของทนายความ
(๓) ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิกสภาทนายความ
(๔) ส่งเสริมและจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิกสภาทนายความ
(๕) ส่งเสริม ช่วยเหลือ แนะนํา เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่ประชาชนในเรื องที
เกี ยวกับกฎหมาย