Page 55 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 55
42
1. เมื อถูกฟ้องเป็นจําเลย ควรปรึกษาทนายความ
และแต่งตั งทนายความเพื อ ว่าความ
และดําเนินการทางศาลแทน
2. เมื อจําเลยได้รับหมายเรียกให้ยื นคําให้การ
จะต้องยื นคําให้การภายในกําหนด
3. การนับระยะเวลายื นคําให้การ จะเริ มนับตั งแต่วันที จําเลยได้รับหมายเรียกและสําเนาคําฟ้อง หรือ
บุคคลอื นที อายุเกิน 20 ปี ซึ งอยู่ทํางานในบ้านหรือที ทํางานเดียวกับจําเลย รับหมายเรียกและ
สําเนาคําฟ้องแทน แต่หากเป็นกรณีส่งหมายเรียกและสําเนาคําฟ้องให้แก่จําเลยด้วยการปิด
หมายเรียกและสําเนาคําฟ้องไว้ที บ้านหรือที ทํางานของจําเลย หรือประกาศโฆษณา
ทางหนังสือพิมพ์ การนับระยะเวลาจะเริ มนับเมื อพ้น 15 วัน นับแต่วันปิดหรือประกาศโฆษณา
กล่าวง่าย ๆ คือ จําเลยได้เวลาเพิ มอีก 15 วัน ซึ งถ้าจําเลยไม่สามารถยื นคําให้การ ภายในกําหนด
ได้ ก็อาจจะยื นคําร้องขอให้ศาลขยายระยะเวลายื นคําให้การได้ โดยต้องมีเหตุผลพิเศษอ้างเหตุ
ที ขอขยายระยะเวลานั น จากนั น จึงเป็นดุลพินิจของศาล ที จะอนุญาตหรือไม่อนุญาต
การขอทุเลาการบังคับคดี ขอวางหลักประกัน หรือของดการบังคับคดี
ในบรรดาคดีแพ่งที ขึ นสู่การพิจารณาของศาล จุดประสงค์ของโจทก์ผู้ฟ้องก็คือการเรียกร้อง
เอาทรัพย์สินจากจําเลย ไม่ว่าจะเป็นเรื องการผิดสัญญา การละเมิด หรือกรณีอื น ๆ เมื อมีคําตัดสินของ
ศาลชั นต้นและโจทก์เป็นฝ่ายชนะคดี โจทก์ย่อมต้องการบังคับคดีตามฟ้อง หากจําเลยไม่โต้แย้งและยินยอม
ให้เป็นไปตามคําพิพากษาก็ไม่มีปัญหา แต่ความเป็นจริงโดยส่วนใหญ่แล้ว จําเลยมักจะอุทธรณ์ คํา
พิพากษา จึงมีปัญหาว่า หากโจทก์ขอให้บังคับตามคําพิพากษาไปแล้ว แต่จําเลยได้อุทธรณ์ คํา
พิพากษาและต่อมาคดีถึงที สุดโดยจําเลยเป็นฝ่ายชนะคดี การบังคับคดีของโจทก์ตามคําพิพากษา