Page 102 - หนังสืองบประมาณ ฉบับสมบูรณ์
P. 102

92

               ระบบบริหารงบประมาณ ศาลยุติธรรมและสํานักงานศาลยุติธรรม


               8. หลักเกณฑแนวทางการวิเคราะหโครงการ

                          8.1 หลักความจําเปน เรงดวน ความเหมาะสมและประโยชนของโครงการ ซึ่ง
               พิจารณาตาม ขอ 6.1

                              8.2 หลักความสอดคลอง และความสมบูรณของโครงการ โดยพิจารณาจาก
               ความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป แผนปฏิรูปประเทศ (ดานกฎหมาย ดานกระบวนการ
               ยุติธรรม ดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ดานการบริหารราชการ

               แผนดิน)  นโยบายสําคัญของรัฐบาล นโยบายประธานศาลฎีกา แผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม
               แผนปฏิบัติการศาลยุติธรรม แนวทางการจัดสรรของสํานักงานศาลยุติธรรม อํานาจหนาที่ของ
               สวนราชการในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม และเนื้อหารายละเอียด หรือรูปแบบองคประกอบ
               ของการจัดทําโครงการวามีความสมบูรณเพียงใด ไดแก
                              1)  ชื่อโครงการ  ควรมีความชัดเจนเหมาะสม มีความเฉพาะเจาะจง เปนที่

               เขาใจไดงาย แสดงลักษณะงานที่ตองปฏิบัติ ลักษณะเฉพาะของงานโครงการ และจุดมุงหมาย
               ของโครงการ
                              2)  หลักการและเหตุผล  ตองเขียนใหเห็นถึงปญหา หรือความตองการ พรอม

               ทั้งระบุเหตุผลและขอมูลที่เกี่ยวของกับโครงการ เพื่อสนับสนุนการจัดทําโครงการอยางชัดเจน
               เชน สถิติคดีของศาลยุติธรรม กฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของ และตองเชื่อมโยงวาโครงการนี้มี
               ความสอดคลองกับแผนยุทธศาสตร หรือนโยบายประธานศาลฎีกา หรือเปนการวางรากฐานไปสู
               ภาพที่พึงประสงคในอนาคตของหนวยงานอยางไร

                              3)  วัตถุประสงค ควรเขียนขอความที่แสดงถึงผลลัพธที่จะเกิดขึ้นเมื่อโครงการ
               เสร็จ หรือประโยชนที่ไดรับจากผลผลิต โดยขอความที่ใชเขียนในวัตถุประสงคจะตองชัดเจน ไม
               คลุมเครือ เปนจริงได สามารถวัดและประเมินผลได และมีกรอบเวลาที่ชัดเจน
                              4)  เปาหมาย  ควรระบุปริมาณ และคุณภาพของผลงาน หรือผลผลิตที่ตอง

               ทํา และควรระบุกําหนดเวลาที่ผลงานจะแลวเสร็จ
                              5)  ตัวชี้วัด หมายถึงประเด็นที่ตองการจะวัด และเกณฑการวัดผลสําเร็จของ
               โครงการ ทั้งในเชิงปริมาณ คุณภาพ เวลา ตนทุน

                                  ตัวชี้วัดผลผลิต เปนการวัดผลสําเร็จ หรือการบรรลุเปาหมายในระดับ
               ผลผลิตที่เกิดขึ้น

                                  ตัวชี้วัดผลลัพธ เปนการวัดผลสําเร็จตามวัตถุประสงคของโครงการ

               โดยลักษณะของตัวชี้วัดที่ดี ควรสอดคลองกับประเด็นที่ตองการประเมิน เปนรูปธรรม ชัดเจน

               สามารถวัดผลจากการกระทําได มีความสมเหตุสมผล และไดรับการยอมรับจากผูอื่น

                              6)  กิจกรรม เปนกระบวนการทํางานในการดําเนินโครงการ เพื่อใหเกิด
               ผลผลิต และบรรลุวัตถุประสงค โดยจําแนกเปนกิจกรรมหลักที่แสดงใหเห็นชัดเจนวามีกิจกรรมใด
               ที่ตองทํา และเมื่อใด






               สํานักแผนงานและงบประมาณ                                                                                                   สํานักงานศาลยุติธรรม


                                                           99
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107