Page 103 - หนังสืองบประมาณ ฉบับสมบูรณ์
P. 103

93

                                                           ระบบบริหารงบประมาณ ศาลยุติธรรมและสํานักงานศาลยุติธรรม



                                         7)  งบประมาณ ควรระบุคาใชจายที่ตองใชในการดําเนินกิจกรรมตางๆ
                           ตามหมวดหมูของคาใชจายตามระเบียบการจัดทํางบประมาณ โดยตองคํานึงถึงความประหยัด
                           การใชทรัพยากรทุกอยางใหคุมคาที่สุด เพื่อใหไดคุณภาพของผลงานที่ดีที่สุด

                                         8)  ระยะเวลาดําเนินการ เปนการระบุระยะเวลาตั้งแตเริ่มตนโครงการ
                           จนกระทั่งสิ้นสุดโครงการ วาใชเวลาทั้งหมดเทาใด โดยระบุ เดือน ป ที่เริ่มทําและสิ้นสุด หากเปน
                           โครงการระยะยาว ตองแสดงชวงเวลาในแตละระยะของโครงการนั้นดวย เพื่อใชเปนรายละเอียด

                           ประกอบการพิจารณาอนุมัติโครงการ
                                         9)  ผูรับผิดชอบ โครงการทุกโครงการจะตองมีผูรับผิดชอบดําเนินงาน
                           ตามโครงการที่เขียนไว รวมทั้งจะตองระบุหนวยงาน และบุคคล หรือเจาหนาที่ที่รับผิดชอบใน
                           การจัดทําโครงการนั้นๆ เพื่อสะดวกตอการติดตอประสานงานและการติดตามประเมินผล
                                         10) การติดตามประเมินผล แสดงถึงการติดตาม การควบคุม การกํากับ และ

                           การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ เพื่อใหโครงการบรรลุวัตถุประสงคที่ไดกําหนดไวอยางมี
                           ประสิทธิภาพ พรอมทั้งระบุรูปแบบการประเมินผลโครงการดวย
                                         11) ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ  เปนการทบทวนวัตถุประสงคของโครงการ

                           วาการดําเนินงานของโครงการในแตละวัตถุประสงคนั้น คาดวาจะไดรับประโยชนจาก
                           วัตถุประสงคอยางไร
                                         12) คําขอโครงการตองมีระเบียบเบิกจายที่เกี่ยวของรองรับ
                                         13) คําขอโครงการตองไมเปนลักษณะของงานประจํา


                                  8.3 ความเปนไปไดของโครงการ

                                         เปนการศึกษาขอมูลตางๆ ภายในโครงการ เพื่อพิจารณาวาโครงการนั้น มีแนวโนม
                           ที่จะประสบความสําเร็จมากนอยเพียงใด โดยพิจารณาจาก

                                         1)  ความพรอมของหนวยงาน และความชัดเจน มีประสิทธิภาพ คุนคา และไม

                           ซ้ําซอนกัน โครงการที่มีหนวยงานอื่น ที่มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบดําเนินการในลักษณะบูรณาการ
                           ในภาพรวมอยูแลว
                                         2)  ผลการดําเนินงานที่ผานมา (กรณีที่เปนโครงการตอเนื่อง หรือไดเคยมีการ
                           ดําเนินโครงการมาแลว) พิจารณาจากรายงานผลตามความเปนจริง ถูกตอง ความตั้งใจในการ

                           รายงานผล และความคืบหนาในการดําเนินโครงการ
                                         3)  ขอจํากัดตางๆ ที่อาจเกิดขึ้น เชน ความพรอมในการปรับตัวตอการ
                           เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมทั้งภายในและภายนอกองคกร











                           สํานักแผนงานและงบประมาณ                                                                                                สํานักงานศาลยุติธรรม


                                                          100
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108