Page 29 - คู่มือการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
P. 29

๒๔


               คู่ความก็ต้องน าเอกสารหรือภาพถ่ายเข้าระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ (e-Filing System) เท่านั้น ส่วน

               กรณีคู่ความยื่นค าฟ้องหรือค าร้องตั้งต้นคดีด้วยวิธีตามปกติ (ยื่นต่อศาลเป็นกระดาษ) คู่ความต้องน า

               เอกสารหรือภาพถ่ายเข้าระบบบริการออนไลน์ศาลยุติธรรม (CIOS) ซึ่งเจ้าหน้าที่ศาลจะต้องพิมพ      ์

                                                   ๔๗
               เอกสารดังกล่าวเพื่อเก็บรวมไว้ในส านวน
                                     ส าหรับวิธีการน าสืบคู่ความที่น าสืบสามารถด าเนินการได้โดย (๑) เปิดไฟล์

               เอกสารหรือภาพถ่ายนั้นในระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ แล้วแสดงภาพเอกสารในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอ

               นิกส์ดังกล่าวทางจอภาพของระบบอิเล็กทรอนิกส์ให้ศาล พยานและคู่ความทุกฝ่ายตรวจดู (share

               screen) หรือ (๒) แสดงต้นฉบับเอกสารหรือวัตถุพยานให้ปรากฏทางจอภาพของระบบอิเล็กทรอนิกส์

                                                                                         ๔๘
               เพื่อให้ตรวจสอบความถูกต้องกับส าเนาเอกสารหรือภาพถ่ายที่ได้ยื่นไว้ในส านวนแล้ว
                                     (๒) การน าสืบเอกสารหรือภาพถ่ายประกอบการถามค้าน

                                     กรณีมีการอ้างเอกสารหรือภาพถ่ายประกอบการถามค้าน คู่ความฝ่ายที่อ้าง

               ต้องแปลงเอกสารหรือภาพถ่ายให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ แล้วแสดงผ่านทางจอภาพของ

               ระบบอิเล็กทรอนิกส์ให้ศาล พยานและคู่ความทุกฝ่ายตรวจดู (share screen) หากพยานตรวจสอบ

                                                                                                        ั
               เอกสารทางจอภาพแล้วรับรองการมีอยู่และความถูกต้องของเอกสาร อันเป็นเหตุที่ศาลสามารถรับฟง
                                                                   ๔๙
               เอกสารหรือภาพถ่ายประกอบค าเบิกความพยานนั้นได้  คู่ความฝ่ายที่อ้างเอกสารหรือภาพถ่าย
               ประกอบการถามค้านนั้นจะต้องส่งเอกสารหรือภาพถ่ายในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นให้ศาล
               ทางระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ภายในเวลาที่ศาลเห็นสมควรเพื่อจัดเก็บเป็นส านวนความ
                                                                                            ๕๐




                      ๔๗  ประกาศส านักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์

               ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ข้อ ๒๔ วรรคหนึ่ง “เอกสารหรือภาพถ่ายที่ใช้สืบประกอบค าเบิกความของพยานบุคคลทาง
               ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ให้ใช้เอกสารในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่คู่ความส่งเข้ามาในระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์”
                      ๔๘  ประกาศส านักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์

               ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ข้อ ๒๕ วรรคหนึ่ง “ในการสืบพยาน ให้คู่ความที่น าสืบเอกสารหรือภาพถ่ายเปิดไฟล์เอกสาร
               หรือภาพถ่ายนั้นในระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ แล้วแสดงภาพเอกสารในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวทางจอภาพของ
               ระบบอิเล็กทรอนิกส์ให้ศาล พยานและคู่ความทุกฝ่ายตรวจดู (share screen) หรือแสดงต้นฉบับเอกสารหรือวัตถุพยานให้

               ปรากฏทางจอภาพของระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ตรวจสอบความถูกต้องกับส าเนาเอกสารหรือภาพถ่ายที่ได้ยื่นไว้ในส านวนแล้ว”
                      ๔๙  ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๗๗๐/๒๕๔๙ เอกสารที่จ าเลยใช้ประกอบการถามค้านโจทก์ ซึ่งอ้างตนเองเป็นพยาน
               โดยโจทก์เองก็เบิกความรับรองข้อเท็จจริงตามเอกสารนั้นเป็นพยานหลักฐานที่ไม่อยู่ในบังคับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา

               ความแพ่ง มาตรา ๘๘ และมาตรา ๙๐
                      ๕๐  ประกาศส านักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
               ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ข้อ ๒๕ วรรคสอง “คู่ความที่น าเอกสารหรือภาพถ่ายมาใช้ถามค้านพยานต้องแปลงเอกสาร

               หรือภาพถ่ายให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ แล้วแสดงภาพเอกสารในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวทางจอภาพ
               ของระบบอิเล็กทรอนิกส์ให้ศาล พยานและคู่ความทุกฝ่ายตรวจดู (share screen) และต้องส่งเอกสารหรือภาพถ่ายในรูปแบบ
               ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นให้ศาลทางระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ภายในเวลาที่ศาลเห็นสมควรเพื่อจัดเก็บเป็นส านวนความ”
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34