Page 14 - สรุปแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลในคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาฯ
P. 14
ก. เกณฑ์ว่าด้วยบริการสาธารณะ กล่าวคือ สัญญาท่หน่วยงาน
ี
ึ
ทางปกครองหรือบุคคลซ่งกระทาการแทนรัฐ ตกลงให้คู่สัญญา
�
อีกฝ่ายหน่งเข้าดาเนินการหรือเข้าร่วมดาเนินการบริการสาธารณะโดยตรง
�
�
ึ
ื
เพ่อให้การบริการสาธารณะบรรลุผล เช่น สัญญาลาศึกษาต่อหรืออบรม
ี
ี
(คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลท่ 25/2545) สัญญาท ี ่
ี
�
�
การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยว่าจ้างเอกชนเป็นผู้รับเหมาบริการ
จัดให้มีพนักงานอานวยความสะดวกในการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้โดยสาร
�
�
และผู้ใช้บริการ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจ
ี
�
ี
ี
ื
หน้าท่ระหว่างศาลท่ 12/2551) สัญญาท่มีวัตถุแห่งสัญญาเป็นเคร่องมือ
ี
�
�
สาคัญท่จาเป็น ในการดาเนินการบริการสาธารณะให้บรรลุผล เช่น
�
ี
ึ
สัญญาซ้อขายยาเพ่อให้ได้มาซ่งยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จอันเป็น
ื
ื
ี
�
�
�
เวชภัณฑ์สาคัญ ท่จาเป็นต่อการจัดทาบริการสาธารณะด้านการแพทย์
�
�
ของโรงพยาบาลให้บรรลุผล (คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาล
ี
ี
ี
ี
ี
ท่ 74/2556) รวมถึงสัญญาเก่ยวกับกิจการท่หน่วยงานทางปกครอง
�
�
ต้องดาเนินการเพ่อให้การจัดทาบริการสาธารณะบรรลุผล เช่น สัญญาจ้าง
ื
ก่อสร้างอาคารท่ทาการของหน่วยงานทางปกครองต่าง ๆ เป็นต้น
ี
�
เหล่าน้ถือเป็นสัญญาทางปกครอง
ี
ิ
ี
ข. เกณฑ์ว่าด้วยเอกสิทธ์ของฝ่ายปกครอง สัญญาท่ม ี
�
ึ
ื
ี
ิ
ข้อกาหนดในสัญญาซ่งมีลักษณะพิเศษท่แสดงถึงเอกสิทธ์ของรัฐ เพ่อให้
ิ
ุ
การบริการสาธารณะบรรลผล เป็นเกณฑ์ท่เกิดจากการตีความบทนยาม
ี
ั
มาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติจัดต้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคด ี
�
ี
ึ
ปกครอง พ.ศ. 2542 ซ่งท่ผ่านมา คณะกรรมการวินิจฉัยช้ขาดอานาจ
ี
หน้าที่ระหว่างศาล ได้ใช้ทฤษฎีกฎหมายดังกล่าวเป็นเกณฑ์ในการ
แบ่งแยกสัญญาทางแพ่งกับสัญญาทางปกครอง ไว้เพียง 2 เร่อง ได้แก่
ื
3