Page 15 - สรุปแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลในคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาฯ
P. 15
ี
ี
�
คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลท่ ๙/๒๕๕๕
�
ี
ื
สัญญาซ้อขายประตูตรวจค้นโลหะพร้อมติดต้งระบบและฝึกฝน การ
ั
ื
ื
ี
ื
�
ใช้งานมีวัตถุประสงค์เพ่อจัดซ้อเคร่องมือส�าคัญท่โจทก์ใช้ในการจัดทา
ี
ั
บริการสาธารณะตามอานาจหน้าท่ให้บรรลุผล ท้งสัญญาดังกล่าวม ี
�
�
ข้อกาหนดในสัญญาท่ให้เอกสิทธ์แก่ฝ่ายปกครอง ท่กาหนดให้เอกชน
ิ
ี
�
ี
ซ่งเป็นคู่สัญญาต้องใช้เรือไทยในการขนส่งส่งของหรือเคร่องตรวจโลหะ
ิ
ึ
ื
ื
ิ
่
ตามสญญา หากขนส่งสงของโดยไม่ใช้เรอไทย จะต้องนาหลกฐานการ
�
ั
ั
2
ชาระค่าธรรมเนียมพิเศษเน่องจากการไม่บรรทุกของโดยเรือไทย จึง
ื
�
ิ
ั
ึ
จะมสิทธิได้รับเงนค่าส่งของ ซ่งไม่อาจพบในสญญาทางแพ่งท่วไป จึง
ี
ิ
ั
เป็นสัญญาทางปกครอง
อนึ่ง ในคดีนี้มีข้อสังเกตว่า คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอ�านาจ
ื
หน้าท่ระหว่างศาลใช้เกณฑ์พิจารณาท้งเร่องเอกสิทธ์ของรัฐและบริการ
ั
ี
ิ
สาธารณะ
ี
ี
ี
�
คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลท่ ๙๐/๒๕๕๖
�
ี
�
สัญญาจ้างบริการระบบเกมสลากท่มีข้อกาหนดในสัญญาให้ฝ่ายปกครอง
บอกเลิกสัญญาได้ด้วยเหตุเพียงว่ารัฐบาลมีนโยบายล้มเลิกโครงการ จึง
ี
ิ
เป็นสัญญาท่มีข้อสัญญาให้เอกสิทธ์แก่ฝ่ายปกครองอย่างมากและ
ไม่อาจพบได้ในสัญญาทางแพ่งท่วไป จึงเป็นสัญญาทางปกครอง โดย
ั
ี
่
�
ี
ั
คณะกรรมการวนิจฉยช้ขาดอานาจหน้าทระหว่างศาลไม่ได้ใช้เกณฑ์
ิ
บริการสาธารณะเป็นเกณฑ์พิจารณา
2 มีข้อสังเกตว่า การวางเกณฑ์ว่าด้วยเอกสิทธ์ของฝ่ายปกครองตามคาวินิจฉัย
�
ิ
�
ี
ี
ี
ช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลท่ 9/2555 มีความเห็นในทางวิชาการในลักษณะ
�
ไม่เห็นด้วยกับการให้เหตุผลในคาวินิจฉัยดังกล่าว
4 สรุปแนว ค�ำวินิจฉัยช้ขำดอ�ำนำจหน้ำที่ระหว่ำงศำลในคดีพิพำทเกี่ยวกับสัญญำ
ี
ั
และค�ำวินิจฉัยชี้ขำดอ�ำนำจหน้ำที่ระหว่ำงศำล กรณีค�ำพิพำกษำหรือค�ำส่งที่ถึงที่สุดระหว่ำงศำลขัดแย้งกัน
ตำมพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรวินิจฉัยชี้ขำดอ�ำนำจหน้ำที่ระหว่ำงศำล พ.ศ. ๒๕๔๒ มำตรำ 1๔
(พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕6๒)