Page 20 - สรุปแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลในคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาฯ
P. 20
ื
อาคารหรือถาวรวัตถุอ่น ๆ ของหน่วยงานทางปกครอง มีลักษณะเป็นการ
�
ี
�
ี
ตีความอย่างกว้าง เห็นได้จากคาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาล
ั
ต้งแต่ปี 2545 ท่วางแนวการวินิจฉัยว่า สัญญาจ้างก่อสร้างอาคารหรือ
ี
ส่งปลูกสร้างของหน่วยงานทางปกครองในเกือบทุกกรณี หรือแม้แต่
ิ
สัญญาจ้างตกแต่งภายในอาคารของหน่วยงานทางปกครอง มีลักษณะ
ิ
ื
ี
�
ื
เป็นสัญญาเพ่อจัดให้มีอาคารหรือส่งปลูกสร้างท่เป็นเคร่องมือสาคัญใน
การดาเนินบริการสาธารณะตามภารกิจของหน่วยงานทางปกครองให้
�
ี
�
บรรลุผล ยกตัวอย่างเช่น ในคาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาล
ี
�
ท่ 21/2546 สัญญาว่าจ้างเอกชนก่อสร้างหลักเทียบเรือรบ คาวินิจฉัย
ี
�
�
ี
ี
ช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลท่ 4/2551 สัญญาว่าจ้างเอกชนให้
ี
ั
�
�
ตกแต่งภายในและติดต้งระบบอานวยความสะดวก (ส่วนสานักงาน)
ภายในอาคารท่หน่วยงานทางปกครองเช่าเป็นท่ทาการ หรือใน
ี
ี
�
ี
ี
ี
คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลท่ 37/2550 สัญญาจ้างก่อสร้าง
�
�
ั
พ้นคอนกรีตสาหรับติดต้งตู้คอนเทนเนอร์สถานีทวนสัญญาณของ กสท.
ื
�
�
ถือเป็นการเข้าดาเนินการท่สืบเน่องจากการจัดให้มีเคร่องมือท่สาคัญและ
ื
ื
�
ี
ี
จาเป็นต่อการจัดทาบริการสาธารณะของหน่วยงานทางปกครอง จึงม ี
�
�
ลักษณะเป็นสัญญาทางปกครอง
ี
�
ี
ี
คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลท่ ๑๘/๒๕๔๕
�
คดีพิพาทเก่ยวกับสัญญาจ้างก่อสร้างอาคารศูนย์ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
ี
ื
และศูนย์เคร่องมือกลางระหว่างบริษัทเอกชนกับมหาวิทยาลัยของรัฐ
ื
�
อาคารมหาวิทยาลัยของรัฐเป็น “ถาวรวัตถุ” และเป็น “เคร่องมือสาคัญ”
ี
ในการดาเนินบริการสาธารณะให้บรรลุผลกับเป็นถาวรวัตถุท่ประชาชน
�
จะเข้าไปใช้สอยประโยชน์ได้โดยตรง การท่ผู้ถูกฟ้องคดีว่าจ้างผู้ฟ้องคด ี
ี
�
ถือได้ว่าเป็นกรณีท่หน่วยงานทางปกครองมอบให้เอกชนเข้าดาเนินการ
ี
ิ
จัดให้มี ส่งสาธารณูปโภคจึงเป็นข้อพิพาทเก่ยวกับสัญญาทางปกครองตาม
ี
9