Page 55 - Q8 -
P. 55
54
5) ปริมาณจําเลยตองขังระหวางพิจารณาเกิน 6 เดือน ขึ้นไป นับแตวันที่ออกหมายขัง
ระหวางพิจารณา
จํานวน (คน) จํานวน (คดี)
จําเลยตองขัง จําเลยตองขัง แนวโนมจํานวน (คน) จําเลยตอง
เดือน ระหวางพิจารณา ระหวางพิจารณา ขังระหวางพิจารณาเกิน 6 เดือน
เกิน 6 เดือน เกิน 6 เดือน ขึ้นไป
ขึ้นไป ขึ้นไป
เม.ย. - - -
พ.ค. - - -
มิ.ย. 1 3 เพิ่มขึ้น
โดยที่ : ปริมาณคดีที่นํามาคํานวณ : คดีที่อยูในรอบกอนเขาตรวจ 3 เดือน เชน เขาตรวจ เดือน
กรกฎาคม ปริมาณคดีที่นํามาคํานวณ กอนเขาตรวจ 3 เดือน คือ ระหวางเดือน เมษายน – มิถุนายน
ความสําเร็จ : พิจารณาจากแนวโนมของจํานวน (คน) จําเลยตองขัง ระหวางพิจารณาเกิน 6 เดือน ขึ้นไป
วามีอัตราลดลง หรือมีอัตราคงที่
6) ความสําเร็จของระบบการออกหมาย
หนวยงานมีระบบการควบคุมการออกหมายประเภทตาง ๆ เพื่อมิใหเกิดความผิดพลาด
หลงลืม ในการออกหมาย
- ระบบการควบคุมการออกหมายจับ / หมายคน
- ระบบการควบคุมการออกหมายผัดฟอง / ฝากขัง
- ระบบการควบคุมการออกหมายขัง
- ระบบการควบคุมการออกหมายจําคุกคดีถึงที่สุด
- ระบบการควบคุมการออกหมายปลอย
โดยที่ : ระยะเวลาพิจารณาเริ่มตั้งแตตนป ถึงเดือนที่เขาตรวจ
ความสําเร็จ : พิจารณาจากศาลมีระบบการควบคุมการออกหมาย ในระหวางรอบกอนเขาตรวจ
ครบถวนทั้ง 4 ประเด็น
7) ความสําเร็จของการดําเนินงาน ของงานอุทธรณ ฎีกา มีการดําเนินงานดังนี้
- ฐานขอมูลที่สงกลับมาอานคําพิพากษาศาลอุทธรณ
- ฐานขอมูลการเก็บขอมูลที่ศาลอุทธรณมีคําพิพากษายืนตามศาลชั้นตน
- มีฐานขอมูล การอุทธรณ/ฎีกาที่สามารถสงศาลสูงไดภายใน 3 วันทําการ นับแตวันที่ศาลมีคําสั่ง
โดยที่ : ระยะเวลาพิจารณาเริ่มตั้งแตตนป ถึงเดือนที่เขาตรวจ
ความสําเร็จ : พิจารณาจากศาลมีการดําเนินการ ในระหวางรอบที่กําหนด ไมนอยกวา 3 ประเด็น