Page 182 - Liver Diseases in Children
P. 182

172      โรคตับในเด็ก




              pthaigastro.org
            เน้อตับประเมินด้วย NAS score ในกลุ่มทีได้รับ  และไขมันในตับ แต่ช่วยลดค่า AST และ GGT เมื่อ
              ื
                                                  ่
            metformin ไม่แตกต่างจากกลุ่มยาหลอกเมื่อประเมิน  ประเมินหลังการรักษา 6 เดือน 27
            ผลการรักษาที่ 96 สัปดาห์ 24                        4. โพรไบโอติกส์ (probiotics) สันนิษฐานว่า

                 3. Omega-3 polyunsaturated fatty acids  โพรไบโอติกส์มีประโยชน์ในการรักษา NAFLD ด้วย
            (omega-3 PUFAs) การศึกษาประสิทธิภาพของ  กลไกต่าง ๆ ได้แก่
            omega-3 PUFAs ในเด็กอ้วนที่เป็น NAFLD จ�านวน       - ท�าให้ intestinal barrier integrity มีความ

            108 คน พบว่ากลุ่มที่ได้ PUFAs มีผลอัลตราซาวนด์  คงทน จึงช่วยยับยั้งการเคล่อนย้าย (translocation)
                                                                                 ื
            กลับเป็นปกติมากถึงร้อยละ 67 และจ�านวนผู้ป่วยที่  และการรุกราน (invasion) ของจุลินทรีย์ก่อโรค

            ยังคงมีค่า ALT และ AST สูงลดลงอย่างมีนัยส�าคัญ     - สังเคราะห์ antimicrobial peptides ต่อต้าน
                                           25
            เมื่อประเมินหลังการรักษา 12 เดือน  การศึกษา   จุลินทรีย์ก่อโรค
            ประสิทธิภาพของ docosahexaenoic acid (DHA)          - ปรับระบบภูมิคุ้มกัน ท�าให้ลดการอักเสบ

            ในเด็กที่เป็น NAFLD จ�านวน 58 คน พบว่ากลุ่มที่     การศึกษาในเด็กอ้วนที่เป็น NAFLD จ�านวน
                                                                                     ่
            ได้ DHA มีปริมาณไขมันในตับและในช่องท้องลดลง   64  คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทีได้โพรไบโอติกส์
                      �
            อย่างมีนัยสาคัญเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม  ซึ่งประกอบด้วย  Lactobacillus  acidophilus,
                     26
            ที่ 6 เดือน  อย่างไรก็ตามมีการศึกษาในเด็กที่เป็น  Bifidobacterium lactis, Bifidobacterium bifidum,
            NAFLD พบว่า omega-3 PUFAs ไม่ช่วยลดค่า ALT  Lactobacillus rhamnosus และกลุ่มยาหลอก พบว่า


            ตารางที่ 9.4 การรักษาเด็กที่เป็น NAFLD (ดัดแปลงจากเอกสารอ้างอิงที่ 1)


              การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต (lifestyle modification)

                •  ลดการบริโภคเครื่องดื่มรสหวาน

                •  กินอาหารที่มีประโยชน์และสมส่วน
                •  ออกก�าลังกายระดับปานกลางถึงมาก (moderate-to high-intensity exercise) ทุกวัน

                •  ใช้เวลาอยู่หน้าจอ (screen time) น้อยกว่าวันละ 2 ชั่วโมง
              ยาและอาหารเสริม

                •  ยังไม่มียาหรืออาหารเสริมที่มีหลักฐานยืนยันประโยชน์ในการรักษาโรคตับคั่งไขมันในเด็กอย่างชัดเจน

              การผ่าตัดลดน�้าหนัก (bariatric surgery)

                •  พิจารณาในวัยรุ่นที่มีดัชนีมวลกายมากกว่าหรือเท่ากับ 35 กก./ตร.ม. ไม่มีตับแข็ง และมีโรคร่วม
                  ที่รุนแรง ได้แก่ เบาหวานชนิดที่ 2 หยุดหายใจขณะหลับอย่างรุนแรง (severe sleep apnea) หรือ

                  ความดันในกะโหลกศีรษะสูงโดยไม่รู้สาเหตุ (idiopathic intracranial hypertension)
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187