Page 16 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 3
P. 16

๒. การเปรีียบเทีียบองค์์ประกอบในงานดนตรีีและศิิลปะ
ดนตรีมีควํามแตกต่ํางจํากทัศนศิลป์อย่ํางมําก ในขณะท่ีรูปปั้นและภําพวําดมีรูปทรงทํางกํายภําพ สื่อควํามหมํายจํากองค์ประกอบและกํารใช้สัญลักษณ์ที่มองเห็นได้ เสียงดนตรีกลับเป็นส่ิงที่มีอยู่ขณะที่ ถูกบรรเลงเท่ําน้ัน กํารฟังดนตรีจึงมีปัจจัยในเรื่องของเวลํามํากําหนด อย่ํางไรก็ตํามนักเรียนสํามํารถ เปรียบเทียบองค์ประกอบในงํานดนตรีและศิลปะได้ดังนี้
● พื้นผิว (Texture)
ในทํางทัศนศิลป์ พื้นผิว เป็นผิวนอกของสิ่งต่ําง ๆ รับรู้ได้โดยกํารสัมผัสหรือกํารมอง เช่น
มัน วําว หยําบ ขรุขระ ศิลปินจะใช้รูปแบบของพื้นผิวและกํารให้น้ําหนักเพ่ือสร้ํางควํามกลมกลืน หรือควํามแตกต่ําง ในขณะที่พ้ืนผิวทํางดนตรี เป็นลักษณะของวิธีกํารจัดกํารกับองค์ประกอบต่ําง ๆ ทํางดนตรี เช่น จังหวะ เสียงประสําน แนวทํานอง ซ่ึงมีได้ท้ังบํางและหนํา มีทํานองเดียวที่โดดเด่นออกมํา เหนือคอร์ดท่ีบรรเลงประกอบหรือมีหลํายแนวทํานอง ในเพลง ๆ หนึ่งเรําอําจพบพื้นผิวแบบเดียวหรือ หลํายแบบก็ได้
● รูปแบบ (Forms)
ในทํางทัศนศิลป์ รูปแบบ เป็นโครงสร้ํางของวัตถุ ท่ีมีควํามกว้ําง ยําว และลึก ที่เป็นสํามมิติ
หรือมีควํามกว้ํางและควํามยําว ซ่ึงเป็นสองมิติ ในงํานศิลปะอําจพบรูปแบบที่เป็นเรขําคณิต รูปแบบ ธรรมชําติไปจนถึงรูปแบบอิสระ ในขณะท่ีรูปแบบทํางดนตรี เป็นโครงสร้ํางของบทเพลง อําจจะมี เพียงท่อนเดียวหรือหลํายท่อน รูปแบบในทํางดนตรีมีส่วนช่วยอย่ํางมํากในกํารส่ือสํารระหว่ํางผู้ประพันธ์ กับผู้ฟัง เรําสํามํารถรับรู้รูปแบบทํางดนตรีผ่ํานกํารเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นในแต่ละช่วง เมื่อทํานองชุดเก่ํา จบไปและมีทํานองใหม่เกิดขึ้นตํามมํา แสดงว่ําดนตรีได้ดําเนินมําถึงท่อนใหม่แล้ว
● สี (Color)
สเี กดิ จํากปรํากฏกํารณท์ แี่ สงตกกระทบตอ่ วตั ถแุ ละสะทอ้ นสนู่ ยั นต์ ํา เปน็ องคป์ ระกอบทํางศลิ ปะ
ท่ีมีผลทํางจิตวิทยําต่ออํารมณ์ ควํามรู้สึกอย่ํางมําก นอกจํากนี้ สีท่ีใช้ในงํานศิลปะยังเต็มไปด้วยพลัง ในกํารสื่อควํามหมํายในเชิงสัญลักษณ์ เช่น สีแดงให้ควํามรู้สึกร้อนและมีชีวิตชีวํา สีเหลืองส่ือถึง ควํามรุ่งเรืองม่ังคั่ง ในทํางดนตรี สีสันของเสียง (tone color หรือ timbre) เป็นลักษณะของเสียงท่ีกําเนิด จํากแหล่งกําเนิดเสียงที่แตกต่ํางกัน แหล่งกําเนิดเสียงดังกล่ําวเป็นได้ทั้งเสียงของมนุษย์และเครื่องดนตรี ชนิดต่ําง ๆ นอกจํากน้ี เรํายังสํามํารถสร้ํางสีสันเสียงได้บนเคร่ืองดนตรีชนิดเดียวกัน เช่น บําสซูนเมื่อ เล่นเสียงต่ําจะมีเสียงท่ีค่อนข้ํางหนักแน่น แต่เมื่อเล่นช่วงเสียงที่สูงขึ้นจะมีเสียงที่นุ่มนวลไพเรําะมําก นอกจํากน้ี กีตําร์ไฟฟ้ํายังมีเคร่ืองมือท่ีสร้ํางเสียงเอฟเฟกต์ได้หลํายแบบ ไม่ว่ําจะเป็นเสียงแตกพร่ํา รุนแรง (distortion) หรือเสียงที่มีควํามกังวํานสูงแบบคอรัส
14 ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๓


































































































   14   15   16   17   18