Page 29 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 3
P. 29

๑.๓ นาฏยศัพท์เบ็ดเตล็ด
นาฏยศัพท์เบ็ดเตล็ด หมายถึง ศัพท์ต่าง ๆ ที่ใช้เรียกในภาษานาฏศิลป์ นอกเหนือไปจาก
กิริยาศัพท์และนามศัพท์ เช่น จีบยาว จีบสั้น ทลายท่า นายโรง นาฏยศัพท์แบ่งออกเป็นส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ดังนี้
๑) ส่วนศีรษะ ใบหน้า และไหล่
ลักคอ
ลักษณะคล้ายกับการเอียงศีรษะ ต่างกันตรงท่ีศีรษะกับไหล่จะตรงข้ามกัน คือ ถ้าลักคอข้างขวา จะเอียงศีรษะขวา แต่กดไหล่ซ้าย การลักคอจะทาในจังหวะเพลงเร็วพร้อม ๆ กับ
การยักตัวหรือใช้ตัวไปด้วย
กดไหล่
๒) ส่วนแขนและมือ
จีบส่งหลัง
จีบจะจีบมือหลังส่งส่วนแขนและ มือท่ีจีบนั้นไปข้างหลัง แขนตึง พลิกข้อมือจีบให้
หงายขึ้น ลาตัว ดันเอว ดันไหล่
ลักคอ
กดไหล่
กดไหล่จะคล้ายกับการเอียงไหล่ แต่จะ เพ่ิมน้าหนักของการเอียงไหล่ เมื่อกดไหล่ขวาจะเอียง ไหล่ขวาก่อน แล้วค่อย ๆ กดไหล่ขวานั้นต่าลงไปอีก การกดไหล่จะปฏิบัติต่อจากการเอียงไหล่
จีบส่งหลัง นาฏยศัพท์และภาษาท่า 99


































































































   27   28   29   30   31