Page 22 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 2
P. 22

ภาษาท่าทางนาฏศิลป์และนาฏยศัพท์ท่ีสามารถนําามาสร้างสรรค์การแสดงได้ มีดังนี้
๑.๑ ภาษาท่าทางนาฏศิลป์
ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์คอื การใชล้ ลี าทา่ ทางการรา่ ยราํา เพอื่ สอื่ ความหมายแทนคาํา พดู กริ ยิ า ท่าทางต่าง ๆ ที่แสดงออกมาให้ผู้ชมหรือผู้แสดงได้รับรู้ แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คือ ภาษาท่าแทนคําาพูด ภาษาท่าแทนอารมณ์ และภาษาท่าท่ีส่ือความหมาย เช่น ท่ารัก ท่าโกรธ ท่าดีใจ ท่าร้องไห้
ท่ารัก ใช้มือทั้งสองข้าง ประสานกนั ทอี่ ก มอื ทง้ั สอง วางทาบบริเวณฐานไหล่
ทา่ โกรธ ใชฝ้ า่ มอื ถบู รเิ วณ ใต้ใบหู ถูไปมา แล้ว กระชากลง
ท่าดีใจ ใช้มือซ้ายจีบคว่ําา กรีดนิ้วในระดับปาก
ท่าร้องไห้ ใช้มือซ้ายแตะ หน้าผาก ก้มหน้าพร้อม กับสะดุ้งตัวเหมือนกําาลัง สะอ้ืน จากน้ันใช้นิ้วชี้แตะ ที่หัวตาท้ังสองข้าง
๑.๒ นาฏยศัพท์
นาฏยศัพท์ คือ ศัพท์ที่ใช้ในการร่ายรําา ตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า เช่น จีบ ตั้งวงบน ส่ายมือ กล่อมไหล่ ยกเท้า
จีบ ตั้งวงบน ส่ายมือ
68 ดนตรี-นาฏศิลป์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๒


































































































   20   21   22   23   24