Page 24 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 2
P. 24
๒.๒ เพลงที่มีเนื้อร้อง
เพลงที่มีเนื้อร้อง คือ เพลงที่มีคําาประพันธ์บทร้อง มีการขับร้องเพลงประกอบการแสดง เป็นบทเพลงท่ีสร้างสรรค์ให้การแสดงมีความน่าสนใจ
๒.๓ เพลงภูมิหลัง
เพลงภูมิหลัง คือ เพลงที่ให้อารมณ์และความรู้สึก แต่ไม่เก่ียวกับเนื้อร้องและอาจมี เนื้อร้องหรือไม่มีก็ได้ เป็นบทเพลงท่ีใช้บรรเลงประกอบการแสดงเพื่อสื่อถึงความรู้สึกให้ผู้ชมได้เข้าใจ และรับรู้ไปกับการแสดง เช่น การแสดงท่ีมีตอนเศร้าเสียใจ จะบรรเลงเพลงที่ช้า เศร้า ทําาให้ผู้ชม คล้อยตามไปด้วย
๓. คําาร้องหรือเนื้อร้อง
การสร้างสรรค์คําาร้องหรือเนื้อร้องที่ใช้ในการแสดง ผู้ประพันธ์จะต้องสร้างสรรค์เน้ือร้อง ให้สอดคล้องกับการแสดง มีจินตนาการสร้างสรรค์ในการประพันธ์
บทเพลง เพอื่ ทจ่ี ะแตง่ บทเพลงไดถ้ กู ตอ้ งและสอื่ อารมณข์ องการแสดง
มาสู่ผู้ชมได้เข้าใจและซาบซึ้ง
๔. การแต่งกาย
ในการแสดงนาฏศิลป์จะต้องมีการสร้างสรรค์การแต่งกาย ให้มีความงดงามเหมาะสมกับผู้แสดง มีการประดับประดา ตกแต่ง ลวดลายของเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายให้มีความงดงามวิจิตรตระการตา เพราะการแต่งกายในการแสดงยังเป็นส่ิงท่ีบ่งบอกถึงยศ ฐานะ บรรดาศักดิ์ของตัวละครด้วย
การแสดงโขนเป็นหนุมานจะต้องแต่งกายชุดสีขาว มีลายปักลายทักษิณาวัตร (อ่านว่า ทัก-สิ-นา-วัด) สวมหัวโขนลิงโล้นสีขาว ปากอ้า
ที่มา : คุณเกียรติวงศ์ ด่านพงศ์กร ถ่ายภาพ
คําาถามท้าทาย
สรุป
ถ้านักเรียนเป็นนักแต่งเพลง จะแต่งเพลงที่มีเนื้อหาอะไร ใช้ในการแสดงใด
หลักและวิธีการสร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์ เป็นหลักการสร้างสรรค์ ก า ร แ ส ด ง โ ด ย ใ ช อ้ ง ค ป์ ร ะ ก อ บ น า ฏ ศ ลิ ป เ์ ข า้ ม า ม สี ว่ น เ ก ยี ่ ว ข อ้ ง ท าํา ใ ห ก้ า ร แ ส ด ง ม คี ว า ม ส ว ย ง า ม แ ล ะ ส ม บ รู ณ ์ เป็นที่ช่ืนชอบต่อผู้ชม
70 ดนตรี-นาฏศิลป์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒