Page 25 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 2
P. 25
การบูรณาการศิลปะแขนงอื่นๆ กับการแสดงนาฏศิลป์
การแสดงนาฏศิลป์ไทย นอกจากมีองค์ประกอบที่สําาคัญดังที่กล่าวมาแล้ว การแสดงนาฏศิลป์ไทย ยังสามารถบูรณาการกับศิลปะแขนงอื่น ๆ ได้ด้วย เช่น ด้านวิจิตรศิลป์ ประติมากรรม จิตรกรรม สถาปัตยกรรม ซ่ึงนําามาบูรณาการในการแสดงเพื่อให้การแสดงมีความสวยงาม น่าสนใจ
การนําาศิลปะแขนงอื่น ๆ มาใช้กับการแสดงนาฏศิลป์ไทย มีดังนี้
๑. แสง สี เสียง
แสง สี ที่ใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ไทย ควรมีความสัมพันธ์กับเคร่ืองแต่งกายที่ใช้ในการแสดง ให้มีความเหมาะสมกลมกลืนกัน ทําาให้การแต่งกายมีความโดดเด่นสวยงาม ผู้ชมได้รับสุนทรียรส (อ่านว่า สุน-ทะ-รี-ยะ-รด) อย่างเต็มที่ ในด้านเสียงที่ใช้จะต้องพอเหมาะ ไม่ดัง หรือเบาจนเกินไป สามารถ ให้ผู้ชมที่ชมการแสดงได้ยินเสียงชัดเจน เพื่อให้ผู้ชมซาบซึ้งและคล้อยตามไปกับการแสดง
การใช้แสง สี เสียง ท่ีเหมาะสม ทําาให้การแสดงน่าสนใจ และสวยงาม ท่ีมา http://www.thongteaw.com/Tour/Siam_Niramit.html
๒. ฉาก
ฉากเปน็ สงิ่ สาํา คญั อยา่ งหนง่ึ ทที่ าํา ใหก้ าร แสดงสวยงาม ผู้สร้างฉากจะต้องมีความคิด สร้างสรรค์ในการสร้างฉากและมีความรู้ทางด้าน การออกแบบ ด้านศิลปะและสถาปัตยกรรม เพ่ือให้การออกแบบฉากมีความสัมพันธ์กับ ชุดการแสดง
การแสดงระบําาโบราณคดี ท่ีมีฉากเป็นโบราณสถาน ที่มา http://www.geoturismoguatemala.com
ความรู้พื้นฐานด้านนาฏศิลป์ไทย 71