Page 27 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 2
P. 27

หลักและวิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์
การวิจารณ์ และวิเคราะห์การแสดง เป็นการแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการแสดงนาฏศิลป์ เพื่อให้ เกิดการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการแสดงให้ดีข้ึน ในการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนั้น ผู้ท่ีวิเคราะห์ วิจารณ์งานศิลปะจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการแสดงนาฏศิลป์ มีความคิด มีเหตุผลท่ีดีในการ วิเคราะห์ วิจารณ์การแสดง
หลักและวิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ มีดังนี้
๑. ผู้วิจารณ์ควรมีพื้นฐานทางนาฏศิลป์
ผวู้ จิ ารณส์ ามารถพจิ ารณาไดว้ า่ การแสดงมคี วามถกู ตอ้ งหรอื ไม่ เช่น เรื่องของท่ารําาท่ีใช้ส่ือความหมายว่าสอดคล้องกับบทร้อง และทําานองเพลงหรือไม่
๔. ผู้วิจารณ์ทราบเน้ือเรื่องที่ใช้ แสดงเป็นอย่างดี
ผู้วิจารณ์ควรศึกษาเนื้อเร่ือง โดยสังเขปก่อนชมการแสดง เพื่อท่ีจะทําาให้เข้าใจการแสดง และสามารถวิเคราะห์ และ วิจารณ์ได้ถูกต้อง
๒.
ผู้วิจารณ์มีความสามารถ ด้านเครื่องแต่งกาย ผู้วิจารณ์ต้องมีความรู้เร่ืองการ แต่งกายประกอบการแสดง สามารถวิเคราะห์ได้ว่าผู้แสดง แตง่ กายไดถ้ กู ตอ้ งและเหมาะสม กับการแสดงหรือไม่
หลักและวิธีการ วิเคราะห์ วิจารณ์ การแสดงนาฏศิลป์
๓. ผู้วิจารณ์มีความสามารถทางด้านดนตรีประกอบการแสดง ผู้วิจารณ์ต้องมีความรู้เกี่ยวกับดนตรี บทเพลงที่ใช้ประกอบ การแสดง สามารถวิเคราะห์และวิจารณ์ได้ว่าดนตรีหรือบทเพลง มีความถูกต้อง เหมาะสมกับการแสดงหรือไม่
นอกจากหลักและวิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ดังกล่าวแล้ว ผู้วิจารณ์ควรคําานึงถึง สถานที่ท่ีใช้ในการประกอบการแสดงว่าเหมาะสมหรือไม่ และท่ีสําาคัญผู้วิจารณ์ควรมีความเป็นธรรม ในการวจิ ารณ์ ไมล่ าํา เอยี งหรอื วจิ ารณด์ ว้ ยเหตผุ ลสว่ นตวั หรอื ฟงั จากบคุ คลตา่ ง ๆ เพราะจะทาํา ใหก้ ารวจิ ารณ์ ไม่เท่ียงตรง
คําาถามท้าทาย การวิจารณ์การแสดงโดยใช้ถ้อยคําารุนแรง จะส่งผลต่อการแสดงอย่างไร นาฏศิลป์ http://www.panyathai.or.th
ความรู้พ้ืนฐานด้านนาฏศิลป์ไทย 73


































































































   24   25   26   27   28