Page 23 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 2
P. 23
กล่อมไหล่ ยกเท้า
๒. ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง
การแสดงนาฏศลิ ปม์ คี วามจาํา เปน็ อยา่ งยง่ิ ทจี่ ะตอ้ งใชเ้ ครอื่ งดนตรมี าบรรเลงประกอบการแสดง เพ่ือให้การแสดงมีความสวยงาม สนุกสนาน น่าสนใจ ทําาให้การแสดงมีความสมจริง
การแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยจะมกี ารบรรเลงบทเพลงทใี่ ชป้ ระกอบการแสดง บทเพลงทน่ี ยิ มใชบ้ รรเลง ท่ัวไปแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ดังน้ี
๒.๑ เพลงหน้าพาทย์
เพลงหนา้ พาทยเ์ ปน็ เพลงประเภทหนงึ่ ทใี่ ชบ้ รรเลงในการแสดงกริ ยิ าของมนษุ ย์ สตั ว์ วตั ถุ หรือธรรมชาติ ท้ังกิริยาท่ีมีตัวตน กิริยาสมมุติ กิริยาที่เป็นปัจจุบัน และกิริยาที่เป็นอดีต เช่น บรรเลงใน การแสดงกิริยา ยืน เดิน กิน นอน ของมนุษย์และสัตว์ การเปล่ียนแปลง เกิดขึ้น หรือสูญไปของวัตถุและ ธรรมชาติ
องค์ประกอบสําาคัญของเพลงหน้าพาทย์อยู่ท่ีเคร่ืองดนตรีที่ใช้บรรเลงคือ ตะโพน และ กลองทัด กล่าวคือ เพลงใดท่ีมีตะโพนและกลองทัดบรรเลงควบคู่กัน ถือว่าเป็นเพลงหน้าพาทย์ทั้งสิ้น
เพลงหน้าพาทย์แบ่งระดับความสําาคัญออกได้เป็น ๓ ระดับ ได้แก่
๑. เพลงหน้าพาทย์ธรรมดา ใช้กับตัวละครชั้นสามัญทั่วไปที่ไม่มีความสําาคัญมากนัก เช่น เพลงเสมอ
๒. เพลงหน้าพาทย์ชั้นกลาง ใช้กับตัวละครที่มีความสําาคัญมากขึ้น เช่น เพลงเสมอ ข้ามสมุทร เพลงเสมอเถร เพลงเสมอมาร
๓. เพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง ใช้กับตัวละครที่สูงศักดิ์ เช่น เพลงบาทสกุณี (เสมอตีนนก) เพลงดําาเนินพราหมณ์
(ที่มา : เพลงหน้าพาทย์ สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคคีตะ-ดุริยางค์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน)
ความรู้พ้ืนฐานด้านนาฏศิลป์ไทย 69