Page 16 - ประวัติศาสตร์ไทย ม 4-6
P. 16
บันทึกส่วนบุคคลของแอนน์ แฟรงก์ (ขวา) ถูกนามาใช้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับ ชาวยิวสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๑ ซึ่งต่อมาได้ตีพิมพ์เผยแพร่ในชื่อ เดอะไดอารีออฟอะยังเกิร์ล (ซ้าย)
บานแพนก) ของพงศาวดารด้วย เช่น พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ดังข้อความ ในบานแผนก ต่อไปนี้
ศุภมัสดุ ศักราช ๑๑๕๗ สัปตศก (พ.ศ. ๒๓๓๗) สมเด็จพระบรมธรรมิกมหาราชาธิราช พระเจา้ อยหู่ วั ผา่ นถวลั ยราชย์ ณ กรงุ เทพทวารวดศี รอี ยธุ ยา เถลงิ พระทนี่ ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาท ทรงชา ระ พระราชพงศาวดาร (ประชุมพงศาวดาร เล่ม ๔๐ ภาค ๖๕-๖๖ เรื่องพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับ พันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า ๑)
อย่างไรก็ตาม มีหลักฐานจานวนไม่น้อยท่ีไม่ปรากฏข้อมูลเก่ียวกับเวลา เน่ืองจากหลักฐาน นั้นชารุด เช่น ศิลาจารึกสึกกร่อนหรือแตกหัก หินกะเทาะหลุดหายไปบางส่วน เอกสารประเภทใบลานและ กระดาษส่วนใหญ่ผุพังและชารุดสูญหาย เพราะความช้ืนของอากาศทาให้กระดาษเปื่อย หรือมดปลวก กัดแทะ หรือฉีกขาด ส่งผลให้ข้อมูลขาดความต่อเนื่อง ดังน้ัน นักประวัติศาสตร์จึงต้องสืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับเวลาเพื่อเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการวิเคราะห์หลักฐานชิ้นน้ัน ๆ การสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับอายุของ หลักฐานประเภทลายลักษณ์ทาได้หลายวิธี เช่น
- การวิเคราะห์จากชื่อบุคคลหรือ
สถานที่
- การศึกษาเปรียบเทียบข้อมูล
เก่ียวกับประเพณีหรือพิธีกรรม
- การวิเคราะห์สานวนภาษาท่ีบันทึก ในหลักฐาน
- การวเิ คราะหท์ างดา้ นนริ กุ ตศิ าสตร์ เป็นการวิเคราะห์จากคาศัพท์ต่าง ๆ ที่ปรากฏใน
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
เอกสารประเภทใบลาน
14 ประวัติศาสตร์ไทย ม.๔-๖