Page 15 - ประวัติศาสตร์ไทย ม 4-6
P. 15

ผู้ศึกษาตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญาที่มนุษยชาติในอดีตได้สร้างสรรค์ผลงานและความรุ่งเรืองต่าง ๆ ที่กลายเป็นรากฐานของความเจริญในปัจจุบัน และเพื่อให้อนุชนรุ่นหลังช่วยกันสืบทอดและอนุรักษ์มรดก ทางวัฒนธรรมเหล่านั้นไว้ไม่ให้สูญสลายไปพร้อมกับกาลเวลา
การเปรียบเทียบวิธีการแก้ปัญหาของประเทศต่าง ๆ ในสถานการณ์ร่วมสมัย พัฒนาการทาง ประวตั ศิ าสตรท์ ผ่ี า่ นมาชใ้ี หเ้ หน็ วา่ มนษุ ยชาตใิ นหลายดนิ แดนตา่ งเผชญิ ชะตากรรมในสถานการณร์ ว่ มสมยั เป็นต้นว่า ภัยจากลัทธิอาณานิคม ภัยสงคราม ภัยเศรษฐกิจ ฯลฯ
การศกึ ษาเปรยี บเทยี บเหตกุ ารณร์ ว่ มสมยั ในประวตั ศิ าสตรช์ ว่ ยใหผ้ ศู้ กึ ษาเรยี นรบู้ ทเรยี นจาก ประวตัศิาสตร์สามารถเขา้ใจวธิกีารแกป้ญั หาของผนู้าในอดตีทเ่ีสยีสละอดทนและยนืหยดัตอ่สเู้พอื่เอกราช ของชาติ อีกทั้งจะช่วยให้เกิดคุณธรรม มีความรักและยึดม่ันต่อสันติสุขของประเทศชาติมากกว่า ผลประโยชน์ส่วนตน
๑.๒ เวลากับหลักฐานทางประวัติศาสตร์
นักประวัติศาสตร์เรียนรู้เรื่องราวในอดีตจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ซึ่งเป็นเครื่องมือ สาคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์ หากขาดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์จะไม่สามารถ ตรวจสอบความถูกต้องของเหตุการณ์ในอดีตได้ ขณะเดียวกันมนุษย์ก็จะไม่ทราบถึงภูมิหลังและ ความเป็นมาของบรรพชน อย่างไรก็ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต้องมีเวลากา กับอยู่ด้วย เพราะหาก หลักฐานน้ันไม่ปรากฏข้อมูลเก่ียวกับเวลา ผู้ศึกษาก็จะไม่สามารถวิเคราะห์ความสาคัญของหลักฐานและ ความเก่ียวเนื่องกับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ได้
ในการศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ นอกเหนือจากข้อมูลสาคัญอื่น ๆ แล้ว สิ่งที่ผู้ศึกษา ต้องการทราบ คือ ข้อมูลเกี่ยวกับเวลาหรืออายุของหลักฐานชิ้นนั้น เช่น หลักฐานนั้นสร้างขึ้นเมื่อไร สมัยใด เกยี่ วขอ้ งกบั เหตกุ ารณใ์ นอดตี ในชว่ งเวลาใดบา้ ง ขอ้ มลู เกย่ี วกบั เวลาทป่ี รากฏในหลกั ฐานจะชว่ ยใหผ้ ศู้ กึ ษา ทราบว่าหลักฐานนั้นเกี่ยวข้องกับใคร ในยุคสมัยใด และมีความต่อเนื่องหรือเชื่อมโยงกับเหตุการณ์อ่ืน ๆ ทงั้ กอ่ นหนา้ นนั้ และหลงั จากนนั้ อยา่ งไร อยา่ งไรกต็ ามเนอื่ งจากหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรใ์ นแตล่ ะยคุ สมยั มีจานวนมากและหลากหลาย วิธีการสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับเวลาจากหลักฐานจึงแตกต่างกัน โดยเฉพาะการ สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเวลาจากหลักฐานประเภทลายลักษณ์ และหลักฐานทางโบราณคดี
การสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับเวลาจากหลักฐานประเภทลายลักษณ์
หลกั ฐานประเภทลายลกั ษณจ์ ดั เปน็ หลกั ฐานทพี่ ดู ได้กลา่ วคอื เปน็ หลกั ฐานทส่ี ามารถสอื่ กบั ผู้ศึกษาได้โดยตรงด้วยข้อความหรือเน้ือหาท่ีปรากฏอยู่ในหลักฐานน้ัน ๆ เช่น ศิลาจารึก เอกสารประเภท จารกึ ตา่ ง ๆ จดหมายเหตุ พงศาวดาร บนั ทกึ สว่ นบคุ คล กฎหมาย ราชกจิ จานเุ บกษา เอกสารราชการ รายงาน การประชุม รายงานการวิจัย หนังสือพิมพ์ บทความ แผ่นปลิว หลักฐานเหล่านี้ส่วนใหญ่มักให้ข้อมูล เกยี่ วกบั เวลา ดงั เชน่ ศลิ าจารกึ สมยั สโุ ขทยั มกั กลา่ วถงึ ศกั ราชทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เหตกุ ารณท์ ปี่ รากฏอยใู่ นจารกึ นนั้ จารกึ ทมี่ กี ารระบศุ กั ราชไวช้ ว่ ยใหน้ กั ประวตั ศิ าสตรส์ ามารถเชอ่ื มโยงและลาดบั เหตกุ ารณป์ ระวตั ศิ าสตร์ ในสมยั สโุ ขทยั ได้ นอกจากนพ้ี ระราชพงศาวดารตา่ ง ๆ กม็ กั ระบศุ กั ราชทจ่ี ารหรอื เขยี นไวท้ บี่ านแผนก (หรอื
เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
13


































































































   13   14   15   16   17