Page 13 - ประวัติศาสตร์ไทย ม 4-6
P. 13
การเผยแพร่ข้อมูลใน พ.ศ. ๒๕๕๒ เกี่ยวกับการค้นพบลูกปัดหลากสีจานวนมากในพื้นท่ีแถบ ชายทะเลฝั่งตะวันตกของภาคใต้ โดยเฉพาะที่อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญวิเคราะห์ ว่ามีอายุมากกว่า ๒,๐๐๐ ปี ทาให้นักโบราณคดีเชื่อว่าดินแดนประเทศไทยในอดีตมีการติดต่อค้าขาย กบั โลกภายนอกและมคี วามสามารถผลติ สนิ คา้ ประเภทหตั ถกรรมเปน็ สนิ คา้ ออกเชน่ เดยี วกบั ดนิ แดน อารยธรรมอื่น ๆ ของโลก
ข้อความในจารึกพ่อขุนรามคาแหงระบุศักราชที่ประดิษฐ์ลายสือไทยว่า “...๑๒๐๕ ศกปีมะแม พ่อขุนรามคาแหงหาใคร่ใจในใจ แลใส่ลายสือไทยนี้ ลายสือไทยนี้จึ่งมีเพื่อขุนผู้นั้นใส่ไว้...” ศักราช ๑๒๐๕ ที่ระบุไว้คือมหาศักราช หรือ พ.ศ. ๑๘๒๖ (พ.ศ. ๑๘๒๖ = ม.ศ. ๑๒๐๕ + ๖๒๑)
ข้อมูลท่ีปรากฏในจารึกนี้เชื่อมโยงให้เห็นว่าภาษาไทยที่เราใช้กันในปัจจุบันมีพัฒนาการมา นานกว่า ๗๐๐ ปีแล้ว ความสามารถในการประดิษฐ์อักษรไทยแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของชนชาติไทย เพราะอักษรไทยแสดงถึงความก้าวหน้าทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมด้านวรรณกรรมของชนชาติ นอกจากน้ีอักษรไทยยังทาให้มีการบันทึกข้อมูลประวัติศาสตร์ที่เช่ือมโยงอดีตกับปัจจุบันได้
การสร้างความต่อเนื่องของเหตุการณ์ในอดีต
ข้อมูลท่ีพบในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ช่วงเวลาต่าง ๆ มีความสาคัญต่อการเช่ือมโยง เหตกุ ารณใ์ นอดตี มาก เพราะชว่ ยใหผ้ ศู้ กึ ษามองเหน็ ความตอ่ เนอื่ งของเหตกุ ารณจ์ ากชว่ งเวลาหนงึ่ ไปยงั อกี ชว่ งเวลาหนง่ึ และสามารถเขา้ ใจภาพรวมของเหตกุ ารณไ์ ด้ ดงั ตวั อยา่ งการวเิ คราะหค์ า วา่ “สยาม” ในหนงั สอื เร่ือง ความเป็นมาของคาสยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของช่ือชนชาติ ของจิตร ภูมิศักดิ์ ซึ่งใช้ข้อมูลทางด้านนิรุกติศาสตร์ที่ปรากฏในหลักฐานสมัยต่าง ๆ อธิบายวิวัฒนาการของคาว่า “สยาม” ผู้ศึกษาสามารถนาองค์ความรู้ท่ีจิตร ภูมิศักดิ์ ค้นคว้าไว้มาประกอบ การอธิบายภาพรวมของพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในดินแดน
ประเทศไทยได้ ดังนี้
หลักฐานที่กล่าวถึงดินแดนสยามมีทั้งหลักฐานประเภท จารึก ตานาน จดหมายเหตุจีน วรรณกรรมและหลักฐานทางราชการ ในสมัยรัตนโกสินทร์
หลกั ฐานประเภทจารกึ ไดแ้ ก่จารกึ ของเขมรโบราณและ จาม ตานานภาคเหนือของไทย เช่น รัตนพิมพวงศ์ (ตานานพระแก้ว- มรกต) ซึ่งเขียนใน พ.ศ. ๑๙๗๒ จามเทวีวงศ์ ซึ่งเขียนประมาณ พ.ศ. ๒๐๐๐ และชินกาลมาลีปกรณ์ ซึ่งเขียนใน พ.ศ. ๒๐๕๙ จดหมายเหตุ จีน พ.ศ. ๑๘๒๕ เรียกดินแดนของชนชาติไทยว่า “เสียม” หรือ “เสียน” ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอยุธยา พบคาว่า “สยาม” ในวรรณกรรมเรื่องลิลิตยวนพ่าย และมหาชาติคาหลวง ใน
หนังสือ “ความเป็นมาของคาสยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทาง สังคมของช่ือชนชาติ” โดย จิตร ภูมิศักด์ิ ตีพิมพ์ครั้งท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๒๔
เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
11