Page 11 - ประวัติศาสตร์ไทย ม 4-6
P. 11

จารึกพ่อขุนรามคาแหงใช้มหาศักราช และระบุศักราช (ศก หรือ สก) ที่มีการจัดทาจารึกไว้ว่า “...๑๒๑๔ ศก ปีมะโรง...” ตรงกับพุทธศักราช ๑๘๓๕ (ม.ศ. ๑๒๑๔ + ๖๒๑ = พ.ศ. ๑๘๓๕)
จารึกวัดป่ามะม่วงสมัยสุโขทัยมีการระบุพุทธศักราชไว้ว่า “...แต่พระพุทธเจ้าเราเข้านิพพานมาเถิงวันบวชน้ัน ได้พันเก้าร้อย- ห้าปี” ตรงกับพุทธศักราช ๑๙๐๔ (หลังจากปีที่ปรินิพพานแล้ว ๑๙๐๔ ปี)
จารกึ วดั ปา่ แดงสมยั สโุ ขทยั ใชจ้ ลุ ศกั ราช และปรากฏศกั ราช ท่ีจารึกว่า “เม่ือศักราชได้ ๗๖๘ จอนักษัตร เดือนอ้ายแรม ๑๐ ค่า วันอาทิตย์...” ตรงกับพุทธศักราช ๑๙๔๙ (จ.ศ. ๗๖๘ + ๑๑๘๑ = พ.ศ. ๑๙๔๙)
จารึกวัดป่าแดงสมัยสุโขทัย
พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยาฉบบั หลวงประเสรฐิ อกั ษรนติ ใิ์ ชจ้ ลุ ศกั ราช และมบี านแผนก บอกปีท่ีสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีพระบรมราชโองการให้เรียบเรียงไว้ว่า “ศุภมัสดุ ๑๐๔๒ ศกวอก นกั ษตั ร ณ วนั พธุ เดอื น ๕ ขนึ้ ๑๒ คา่ ...” ตรงกบั พทุ ธศกั ราช ๒๒๒๓ (จ.ศ. ๑๐๔๒ + ๑๑๘๑ = พ.ศ. ๒๒๒๓)
พระราชดา รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในการปฏริ ปู การปกครองหวั เมอื ง ตามที่โปรดเกล้าฯ ให้แจ้งต่อที่ประชุมข้าหลวงเทศาภิบาลครั้งแรก ลงวันที่ ๑๘ มกราคม รัตนโกสินทรศก ๑๑๔ ตรงกับพุทธศักราช ๒๔๓๘ (ร.ศ. ๑๑๔ + ๒๓๒๔ = พ.ศ. ๒๔๓๘)
จากตัวอย่างข้างต้นพบว่า ในสมัยสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์มีการใช้ศักราชแตกต่าง กนั ดงั นนั้ ผศู้ กึ ษาจงึ ตอ้ งนาศกั ราชเหลา่ นน้ั ไปเทยี บกบั พทุ ธศกั ราชกอ่ น แลว้ จงึ จะสามารถลาดบั เหตกุ ารณ์
ก่อน-หลังได้
การลาดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์สากล นักประวัติศาสตร์สามารถลาดับเหตุการณ์ใน
ประวัติศาสตร์สากลโดยใช้ศักราชสากล คือ คริสต์ศักราช เช่น การศึกษาพัฒนาการความเจริญของ อารยธรรมโบราณในดินแดนเมโสโปเตเมีย และอียิปต์ซึ่งเจริญรุ่งเรืองต่อเน่ืองในช่วงหลายพันปี อน่ึง ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ยังสามารถลาดับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ในประเทศของตน ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงใน เหตกุารณส์าคญัของโลกทเี่กยี่วขอ้งกบัชะตากรรมของมนษุยชาตจิานวนมากได้โดยวธิกีารเทยีบศกัราชที่ ใชอ้ยใู่นประเทศนนั้กบัครสิตศ์กัราชเชน่ กรณขีองประเทศไทยใหน้าพทุธศกัราชไปเทยีบกบัครสิตศ์กัราช (พ.ศ. = ค.ศ. + ๕๔๓) ในการศึกษาสถานะของประเทศไทยในเหตุการณ์สงครามโลกครั้งท่ี ๑ และ ๒ ดังนี้
เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
9


































































































   9   10   11   12   13