Page 9 - ประวัติศาสตร์ไทย ม 4-6
P. 9

๑.๑ ความสาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์
เวลาที่ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ช่วยให้ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์เข้าใจเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นในอดีต ทั้งการลาดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อน-หลัง การเชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบัน การสร้างความ ต่อเนื่องของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในอดีต และการเปรียบเทียบเหตุการณ์ร่วมสมัยในประวัติศาสตร์
การลาดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
คนส่วนใหญ่มักเรียกเหตุการณ์ท่ีผ่านมาแล้วว่า “อดีต” หรือ “สมัยก่อน (ปัจจุบัน)” ทาให้บางคร้ังไม่สามารถสืบสาวได้ว่า เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในอดีตนั้น เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนหรือหลัง โดยเฉพาะเหตกุ ารณท์ น่ี บั ยอ้ นหลงั ไปยาวนานและหา่ งไกลจากปจั จบุ นั มาก เนื่องจากมนุษยชาติมีพัฒนาการมายาวนานมากกว่า ๒ ล้านปี โดยเฉพาะยุคประวัติศาสตร์ของแต่ละดินแดน ซึ่งมีช่วงเวลาแตกต่าง กนั กม็ เี หตกุ ารณป์ ระวตั ศิ าสตรเ์ กดิ ขนึ้ มากมายเกนิ กวา่ จะพรรณนาได้ ครบถ้วน ดังนั้น นักประวัติศาสตร์จึงอาศัย “เวลา” ที่ปรากฏอยู่ใน หลักฐานทางประวัติศาสตร์อธิบายหรือลาดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในแต่ละดินแดน
เอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตร์ การประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกา ค.ศ. ๑๗๗๖
ภาพพมิ พค์ ณะทตู สยามเดนิ ทางไปฝรงั่ เศสในสมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช วาดโดยนโิ คลาส์ เดอ ลาร์ เมสแซง็ ตพี มิ พท์ ป่ี ารสี มขี อ้ ความบรรยายและเวลากา กบั ดา้ นลา่ ง
น กั ป ร ะ ว ตั ศิ า ส ต ร เ์ ร ยี ง ล า ด บั เ ห ต กุ า ร ณ ์ ในประวัติศาสตร์ตามปีท่ีเกิดเหตุการณ์นั้น ๆ โดย นับตามศักราช (ปี) ที่ปรากฏอยู่ในหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ ทั้งนี้แต่ละสังคมมีวิธีเริ่มต้นนับ ศักราชแตกต่างกัน ส่วนใหญ่มักยึดตามเหตุการณ์ สา คญั ทางศาสนาทต่ี นนบั ถอื เปน็ เกณฑ์เชน่ ครสิ ต-์ ศักราช (ค.ศ.) พุทธศักราช (พ.ศ.) และฮิจเราะห์- ศักราช (ฮ.ศ.) ปัจจุบันประเทศส่วนใหญ่ต่างยึด คริสต์ศักราชเป็นศักราชสากล แม้แต่ประเทศไทย ซึ่งประกาศใช้พุทธศักราชอย่างเป็นทางการตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๕ ก็ใช้คริสต์ศักราชในการติดต่อสื่อสาร
กับนานาประเทศด้วย
เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
7


































































































   7   8   9   10   11