Page 14 - ประวัติศาสตร์ไทย ม 4-6
P. 14
สมยั อยธุ ยาและรตั นโกสนิ ทร์ สมยั สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยใ์ นเอกสารจดหมายเหตชุ อ่ื Burney Papers ของ นายเฮนรี เบอร์นีย์ (Henry Burney) สนธิสัญญาทางพระราชไมตรีที่ไทยทากับประเทศตะวันตกในสมัย รัตนโกสินทร์ก็ใช้ชื่อว่าสยาม เช่น “หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรี ประเทศอังกฤษ แล ประเทศสยาม คฤษต์ศักราช ๑๘๒๖” และ “หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรี ประเทศอเมริกา แล ประเทศสยาม คฤษต์ศักราช ๑๘๓๓” ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
หลักฐานเกี่ยวกับคาว่า “สยาม” ที่ปรากฏในช่วงเวลาต่าง ๆ ทาให้ผู้ศึกษาทราบความต่อเนื่อง ของพัฒนาการทางด้านประวัติศาสตร์ของชนชาติไทยในดินแดนประเทศไทย อีกทั้งยังทาให้เข้าใจถึง ภาพรวมการตั้งถิ่นฐานของชนชาติไทยที่ก่อตั้งอาณาจักรในภาคเหนือของประเทศไทย (ดินแดนล้านนา) มาเป็นเวลาช้านานก่อนที่จะเคลื่อนย้ายลงมาตั้งอาณาจักรทางตอนใต้ คือ สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และ รัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน
การเปรียบเทียบเหตุการณ์ร่วมสมัยในประวัติศาสตร์
การศึกษาเปรียบเทียบเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในดินแดนต่าง ๆ ช่วยให้ผู้ศึกษา เข้าใจพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติได้มากข้ึน อย่างไรก็ตามการศึกษาในลักษณะน้ีจะต้อง เปรียบเทียบกับดินแดนท่ีอยู่ร่วมสมัยกัน หรืออยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน หรืออยู่ในสถานการณ์ท่ีมีลักษณะ เดยี วกนั เนอ่ื งจากความแตกตา่ งในดา้ นมติ ขิ องเวลาทาใหไ้ มส่ ามารถศกึ ษาเปรยี บเทยี บเหตกุ ารณไ์ ดอ้ ยา่ ง ถูกต้องแท้จริง การเปรียบเทียบเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยสามารถศึกษาได้หลากหลาย เช่น การ เปรยี บเทยี บพฒั นาการของอารยธรรมรว่ มสมยั ในดนิ แดนตา่ ง ๆ และการเปรยี บเทยี บวธิ กี ารแกป้ ญั หาของ ประเทศต่าง ๆ ที่เผชิญสถานการณ์ร่วมสมัยหรือสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน
การเปรียบเทียบพัฒนาการของอารยธรรมร่วมสมัย การศึกษาในประเด็นนี้ไม่ได้เน้นการ เปรียบเทียบว่าดินแดนใดเหนือกว่า หรือดีเลิศกว่าดินแดนอื่น ๆ แต่อย่างใด หากเป็นการเปรียบเทียบ ให้เห็นว่า มนุษย์ในสมัยโบราณไม่ว่าจะมีถิ่นกา เนิด ณ ท่ีใด เช่น อียิปต์ เมโสโปเตเมีย อินเดีย หรือจีน ต่างก็มีสติปัญญาและความสามารถในการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าให้กับสังคมของตนเอง แต่ละสังคม สามารถสร้างสังคมเมือง มีระบอบการปกครองที่เป็นแบบแผน การศึกษาเปรียบเทียบในลักษณะนี้ทาให้
จารึกบนแผ่นหินของจีน (ซ้าย) และเมโสโปเตเมีย (ขวา) แสดงถึงสังคมเมืองที่พัฒนาอย่างมีแบบแผน
12 ประวัติศาสตร์ไทย ม.๔-๖