Page 16 - เศรษฐศาสตร์ ม 4-6
P. 16

• รัฐเป็นผู้ตัดสินใจในทางเศรษฐกิจและสังคมทั้งหมด ควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทั้งหมด
• เอกชนไมม่ เี สรภี าพในการเลอื กผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร ไมม่ กี รรมสทิ ธใิ์ นการถอื ครอง และเป็นเจ้าของทรัพย์สิน
• เอกชนไม่มีเสรีภาพในการเลือกประกอบอาชีพ ประชาชนจึงมีสภาพเป็น “ลูกจ้างของ
รัฐบาล” ทุกคน
• รัฐบาลเป็นผู้กาหนดการผลิตสินค้าและบริการ จึงไม่มีกลไกราคา
จะเห็นได้ว่าลักษณะของระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์จะตรงข้ามกับระบบทุนนิยม
อย่างสิ้นเชิง
ข้อดี
• เกดิ ความเสมอภาคทางเศรษฐกจิ เพราะรฐั เปน็ ผแู้ จกจา่ ยผลผลติ ใหแ้ กบ่ คุ คลตา่ ง ๆ อย่างเท่าเทียมกัน
• ไม่เกิดการผูกขาดทางเศรษฐกิจโดยผู้ผลิตหรือนายทุน
• ไม่เกิดการได้เปรียบ-เสียเปรียบของประชาชนในเชิงเศรษฐกิจ
ข้อเสีย
• ประชาชนขาดเสรีภาพ
• การดาเนินงานอาจล่าช้า เพราะผ่านขั้นตอนมาก
• ขาดแรงจงู ใจในการผลติ ทา ใหไ้ มม่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการผลติ และเศรษฐกจิ อาจเตบิ โตชา้
3) ระบบเศรษฐกิจแบบผสม(MixedEconomy)
เนอื่ งดว้ ยระบบเศรษฐกจิ ทนุ นยิ มและสงั คมนยิ มยากทจี่ ะสรปุ หรอื ชข้ี าดวา่ ระบบเศรษฐกจิ ใดดีที่สุดหรือดีเท่ากัน เนื่องจากต่างมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ด้วยเหตุนี้จึงทาให้เกิดระบบเศรษฐกิจแบบผสม ขึ้นมา เพื่อดึงข้อดีของระบบเศรษฐกิจทั้ง 2 ระบบนี้มาผสมให้เกิดเป็นระบบเศรษฐกิจที่คิดว่าดีที่สุดกับ ประเทศ
ลักษณะสําคัญ
• ทงั้ รฐั บาลและเอกชนเปน็ เจา้ ของปจั จยั การผลติ และทรพั ยส์ นิ อยา่ งเสรี แตอ่ าจมกี าร จากัดสิทธิเสรีภาพในการผลิตสินค้าและบริการบางประเภทที่เกี่ยวกับความม่ันคงของชาติ หรือเกินกว่า กาลังของเอกชน เช่น การป้องกันประเทศ การรักษาความปลอดภัย การสาธารณูปโภค
• รฐั บาลคอยใหค้ วามชว่ ยเหลอื และอา นวยความสะดวกแกผ่ ปู้ ระกอบการในภาคเอกชน โดยการจัดการโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (Infrastructure) เช่นเดียวกับระบบทุนนิยม
• กลไกราคามีบทบาทในการจัดสรรทรัพยากร แต่ไม่เท่ากับระบบทุนนิยม เนื่องจาก ในระบบเศรษฐกิจแบบผสมมีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของหลายฝ่าย เช่น สหภาพแรงงาน หรือสมาคม การคา้ ตา่ ง ๆ ซง่ึ สามารถสรา้ งอานาจผกู ขาดได้ นอกจากนี้ รฐั บาลอาจเขา้ แทรกแซงราคาอนั เปน็ ผลใหก้ ลไก ราคาล้มเหลวได้เช่นกัน
14 เศรษฐศาสตร์ ม.4-6


































































































   14   15   16   17   18