Page 14 - เศรษฐศาสตร์ ม 4-6
P. 14

• มีกาไรเป็นเครื่องจูงใจ (Pro t Motive) ประกอบกับการแข่งขันกันอย่างเสรี นามาสู่ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เพื่อจูงใจให้ผู้บริโภคหันมาบริโภคสินค้าตน จึงอาจต้องการแข่งขันกันที่ คุณภาพสินค้าและราคา
• ใช้กลไกราคาหรือความต้องการซื้อและขายในตลาด ในการแก้ปัญหาพื้นฐานทาง เศรษฐกจิ ของผผู้ ลติ โดยทผี่ ผู้ ลติ ใชว้ ธิ ดี แู นวโนม้ ของราคาและพฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภคมาเปน็ ขอ้ มลู ในการ ตัดสินใจว่าตนจะผลิตอะไร อย่างไร และเพื่อใคร จึงกล่าวได้ว่าราคาทาหน้าที่แทนผู้บริโภคและชี้ทางให้ ผู้ผลิต ผลิตเฉพาะสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการ ซึ่งเรียกว่าเป็น “อธิปไตยของผู้บริโภค” (Consumer’s Sovereignty)
• รัฐบาลไม่มีบทบาททางเศรษฐกิจ โดยรัฐทาหน้าที่เพียงด้านยุติธรรมและป้องกัน ประเทศ และเป็นฝ่ายบริการอานวยความสะดวกแก่เอกชนหรือผู้ผลิตสินค้า-บริการ เช่น การสร้างระบบ สาธารณูปโภคที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (Infrastructure) ได้แก่ ไฟฟ้า ประปา ถนน โทรศัพท์ ระบบชลประทาน สะพาน สนามบิน
ข้อดี
• การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ เพราะผู้ผลิตต้อง คานึงถึงต้นทุนการผลิตเป็นลาดับแรกว่าจะบริหารต้นทุนในการผลิตอย่างไร เพื่อให้ตนได้รับกาไรสูงสุด
• ก่อให้เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เพราะมีกาไรและเสรีภาพในการแข่งขันเป็น
แรงจูงใจ
• ผบู้ รโิ ภคมโี อกาสเลอื กบรโิ ภคสนิ คา้ -บรกิ ารตา่ ง ๆ ในราคาทเี่ ปน็ ธรรมมากทสี่ ดุ
ข้อเสีย
• ทาให้การกระจายรายได้ของประชาชนไม่เท่าเทียมกัน คนที่มีทรัพย์สินมากย่อม
แสวงหารายได้จากทรัพย์สินของตนได้มาก และมักตามมาด้วยอานาจในการต่อรองทางเศรษฐกิจสูง เช่น เกิดเป็น “กลุ่มนายทุน” หรือ ที่เรียกว่าพวก “กระฎุมพี” (Bourgeoisie)
• ทา ใหค้ นในสงั คมเหน็ “เงนิ เปน็ พระเจา้ ” เกดิ คา่ นยิ มยกยอ่ งวตั ถุ ทเ่ี รยี กวา่ “วตั ถนุ ยิ ม” และนิยมการบริโภคสินค้าที่จะทาให้ตนดูดีมีระดับ ที่เรียกว่า “บริโภคนิยม” ซ่ึงอาจทาให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ท า ง ส งั ค ม ต า ม ม า เ ช น่ ป ญั ห า อ า ช ญ า ก ร ร ม ป ญั ห า ก า ร พ น นั ป ญั ห า ก า ร ข า ย บ ร กิ า ร ท า ง เ พ ศ ป ญั ห า ส า ร เ ส พ ต ดิ ทั้งนี้เป็นไปเพียงให้ได้ “เงิน” มาตอบสนองความต้องการที่เกินความจาเป็นของมนุษย์
• ผลจากเสรีภาพของเอกชน ทาให้เอกชนอาจเลือกประกอบธุรกิจท่ีมุ่งเน้นกาไรสูงสุด จนลมื พจิ ารณาไปถงึ ศลี ธรรมหรอื ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม เชน่ ธรุ กจิ สถานบรกิ าร ธรุ กจิ ผลติ สอื่ เชงิ ทา ลาย สังคม การขายบุหรี่และสุราให้แก่เด็กและเยาวชน
• หากมีผ้ผูลติสนิคา้และบรกิารน้อยรายอาจเกิดการรวมตวักันผกูขาดการผลติสินคา้ ชนิดนั้น ซึ่งทาให้ราคาสินค้าสูง ค่าแรงต่า จึงเกิดผลเสียต่อผู้บริโภคและผู้ใช้แรงงาน สวัสดิการของสังคม โดยรวมจึงลดลง
12 เศรษฐศาสตร์ ม.4-6


































































































   12   13   14   15   16