Page 15 - เศรษฐศาสตร์ ม 4-6
P. 15
2) ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม(Socialism)
เป็นระบบท่ีรัฐเข้าไปแทรกแซงและเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต แต่จะมากหรือน้อยน้ัน ต้องข้ึนอยู่กับระบอบการปกครองด้วย
หาก สังคมนิยม + ระบอบประชาธิปไตย = สังคมนิยมประชาธิปไตย รัฐบาลเปิดโอกาสให้เอกชนได้มีส่วนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตอยู่
หาก สังคมนิยม + ระบบคอมมิวนิสต์ = สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
รฐั เปน็ เจา้ ของปจั จยั การผลติ ทงั้ หมด เอกชนไมม่ กี รรมสทิ ธใิ์ นทรพั ยส์ นิ
(1) ระบบสงั คมนยิ มหรอื ระบบสงั คมนยิ มประชาธปิ ไตย
ล กั ษ ณ ะ ส ํา ค ญั
• รัฐเข้าไปควบคุมการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยมีจุดมุ่งหมายให้เกิดความ ยุติธรรมในการกระจายผลผลิตแก่ประชาชน
• รัฐบาลเป็นเจ้าของปัจจยัการผลิตแต่ยงัคงให้เอกชนมีิสิทธิในการถือครองทรัพย์สิน ส่วนตัว เช่น ที่พักอาศัย
• มีการวางแผนการดาเนินงานทางเศรษฐกิจจากส่วนกลาง ชี้ให้เห็นว่ารัฐบาลเป็นผู้ ตัดสินใจในการแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ขอ้ ดี
• การกระจายรายไดเ้ ปน็ ธรรมมากขนึ้ กวา่ ระบบทนุ นยิ ม
• เกิดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เพราะการวางแผนจากส่วนกลางเป็นหลักประกันว่า ประชาชนจะมีงานทา ไม่เกิดปัญหาการว่างงาน เงินเฟ้อ เงินฝืด มากเช่นทุนนิยม
• ขจัดปัญหาการกอบโกยผลประโยชน์จากนายทุนบางกลุ่มท่ีไม่คานึงถึงศีลธรรมและ ความรับผิดชอบต่อสังคม
ข้อเสีย
• ประชาชนขาดเสรภี าพในการทา ธรุ กจิ ทต่ี นมคี วามชา นาญหรอื ปรารถนาจะทา
• แรงจูงใจในการทางานต่า เพราะกาไรตกเป็นของรัฐ ประชาชนจะได้รับผลตอบแทน เพียงปัจจัยที่จาเป็นต่อการดารงชีพเท่าน้ัน
• ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจึงช้ากว่าทุนนิยม
• ผู้บริโภคไม่มีโอกาสได้เลือกสินค้ามาก
• สินค้าอาจด้อยคุณภาพ เพราะไม่มีการปรับปรุงประสิทธิภาพทางการผลิต อันเนื่อง
มาจากไม่มีการแข่งขัน
(2) ระบบสงั คมนยิ มคอมมวิ นสิ ต์
ล กั ษ ณ ะ ส ํา ค ญั
• รฐั เปน็ ผดู้ แู ลกา กบั ทงั้ เศรษฐกจิ และการเมอื งอยา่ งสมบรู ณ์
หลักเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการกําาหนดราคาและค่าจ้างในระบบเศรษฐกิจ 13