Page 21 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 1
P. 21

๑. พัฒนามาจากการเล่นชักนาคดึกดําาบรรพ์
การเล่นชักนาคดึกดําาบรรพ์ เป็นการแสดงที่มีเรื่องเป็นตําานานทางไสยศาสตร์ เชื่อว่า ถ้าได้แสดงแล้วจะนําาความเป็นสวัสดิมงคลให้เกิดแก่ผู้แสดงและประเทศชาติ จึงได้จัดแสดงใน พระราชพิธีอินทราภิเษกในสมัยกรุงศรีอยุธยา เรื่องในตําานานมีว่า เทวดากับอสูรมีความต้องการตรงกัน คืออยากมีชีวิตเป็นอมตะ จึงชวนกันไปกวนนํา้าในเกษียรสมุทรเพื่อทําานํา้าอมฤตขึ้นมาดื่มให้ชีวิตเป็นอมตะ วิธีกวนนํา้าในเกษียรสมุทร คือ นําาเขามนทคีรีเป็นแกนสําาหรับปั่นนํา้าและใช้ตัวพญาวาสุกรี (พญานาค เจ็ดหัว) เป็นเชือกพันเขามนทคีรีให้ฝ่ายเทวดาดึงทางด้านหาง ฝ่ายอสูรดึงทางด้านหัว (สังเกตยักษ์ จะหน้าตาดุและมีกายสีต่าง ๆ เพราะความร้อนจากปากพญานาค)
รูปป้ันจําาลองชักนาคดึกดําาบรรพ์ ฝ่ายอสูรดึงด้านหัวพญานาค ฝ่ายเทวดาดึงหางพญานาค
หลังจากดึงให้แกนหมุนนํา้าในเกษียรสมุทรไปมาในที่สุดการกวนนํา้าอมฤตก็สําาเร็จลง แต่เทวดาและอสูรกลับมาทําาสงครามแย่งนํา้าอมฤตกัน มุ่งหมายจะครอบครองเพียงฝ่ายเดียว สุดท้าย เทวดาชนะได้นํา้าอมฤตไป เหล่าอสูรล้มตาย
จําานวนมาก เทวดาจึงได้เป็นใหญ่ในสวรรค์
จนทุกวันนี้ นี่คือตําานานเรื่องที่นําามาแสดงชักนาค- ดึกดําาบรรพ์
๒. พัฒนามาจากการเล่นกระบี่กระบอง
การแสดงกระบี่กระบองเป็นการฝึก อาวธุ ของชายไทยเพอื่ ปอ้ งกนั ตนเองและประเทศชาติ เป็นการฝึกความว่องไวในการเคลื่อนไหวร่างกาย
เมื่อเกิดการต่อสู้กับข้าศึก
การเล่นกระบี่กระบอง
การแสดงนาฏศิลป์ 95


































































































   19   20   21   22   23