Page 12 - ประวัติศาสตร์สากล ม 4-6
P. 12
ความเจรญิ รงุ่ เรอื งทกี่ ลายเปน็ วฒั นธรรมขนั้ สงู หรอื อารยธรรมนนั้ เกดิ ขนึ้ ไดด้ ว้ ยความ สามารถของมนุษย์ที่คิดค้นระบบและกลไกในการเอาชนะธรรมชาติ หรือใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ ดินแดนที่มีอารยธรรมรุ่งเรืองจึงเจริญก้าวหน้า สามารถขยายอาณาเขตและอานาจออกไปอย่างกว้างขวาง กลายเป็นอาณาจักรหรือจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่ เช่น อาณาจักรอียิปต์ อาณาจักรเมโสโปเตเมีย จักรวรรดิจีน จักรวรรดิอินเดียในสมัยราชวงศ์โมกุล จักรวรรดิโรมัน อาณาจักรขอม จักรวรรดิอังกฤษ อย่างไรก็ตาม อารยธรรมที่เจริญรุ่งเรืองของดินแดนต่าง ๆ นั้น บางส่วนได้สาบสูญไป เช่น ตาราและวิชาการบางอย่าง ส่วนที่ยังคงดารงอยู่ก็เป็นมรดกสืบทอดต่อมาทั้งในดินแดนของตนหรือในดินแดนอื่น ๆ ที่นาไปถ่ายทอด ทาให้ความเจริญเหล่านั้นสามารถดารงต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน เช่น กฎหมาย ศาสนา ภาษา ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี ดังนั้น การศึกษาเรื่องราวของอารยธรรมมนุษย์ตั้งแต่ยุคเริ่มแรก จึงเป็นการศึกษา เพื่อให้เข้าใจถึงความเจริญของมนุษยชาติที่มีมาตั้งแต่อดีต และกลายเป็นรากฐานความเจริญของมนุษย์ ในสังคมปัจจุบัน เป็นการศึกษาเพ่ือให้รู้จักและยอมรับผู้อื่น ในขณะเดียวกันยังเป็นการศึกษาเพื่อให้รู้จัก ตัวตนของเราเองอีกด้วย
๒. แหล่งกาเนิดอารยธรรมโบราณของโลก
อารยธรรมโลกเกิดข้ึนจากการท่ีมนุษย์ในสมัยโบราณได้พัฒนาความเจริญข้ันสูงขึ้นในแหล่งต่าง ๆ ของโลก ความเจริญเหล่านั้นส่วนใหญ่ เช่น ปรัชญา ศาสนา กฎหมาย
ระบอบการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ เทคโนโลยี ภาษา ศิลปกรรม ได้ กลายเป็นรากฐานหรือมรดกที่มีการสืบสาน ถ่ายทอด และพัฒนาเป็น อารยธรรมของมนุษยชาติในสมัยต่อมา
แหลง่กาเนดิอารยธรรมของโลกตะวนัออกและตะวนัตกทสี่าคญั ได้แก่ เมโสโปเตเมีย อียิปต์ อินเดีย จีน กรีก และโรมัน
๒.๑ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)
“เมโสโปเตเมยี ” เปน็ ชอื่ เรยี กดนิ แดนทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งแมน่ า้ ๒ สาย ในตะวันออกกลาง คือ แม่น้าไทกริส (Tigris) และยูเฟรทีส (Euphrates) ปัจจุบันคือดินแดนในประเทศอิรัก
อารยธรรมเมโสโปเตเมยี มคี วามหมายครอบคลมุ ความ เจริญรุ่งเรืองที่เกิดขึ้นในดินแดนเมโสโปเตเมียและบริเวณรอบ ๆ ซึ่ง เริ่มข้ึนเม่ือประมาณปี ๓,๐๐๐ ก่อนคริสต์ศักราช หรือ ๕,๐๐๐ ปี มาแลว้ กลมุ่ ชนทมี่ สี ว่ นสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมเมโสโปเตเมยี ไดแ้ ก่พวก สเุมเรยี นบาบโิลเนยี นอสั ซเีรยี นคาลเดยี นฮติ ไทต์ฟนิ เิชยี นเปอรเ์ซยี
หินสลักรูปนักบวชของชาวสุเมเรียน ในยุคเร่ิมแรก
10 ประวัติศาสตร์สากล ม.๔-๖